ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาการ์ตูน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
Modernkoro (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
}}
}}


'''ปลาการ์ตูน'''(อังกฤษ:Clownfish) เป็น[[ปลา]]ที่อาศัยอยู่ในทะเล มีหลายพันธุ์ จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับพวกปลาสลิดหิน (Pomacentridae) พบอาศัยอยู่ตามแนวปะการังในบริเวณเส้นศูนย์สูตรทั่วโลก อาศัยอยู่กับ[[ดอกไม้ทะเล]] มีสีสันสวยงาม ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ อยู่กันเป็นครอบครัว สามารถเปลี่ยนเพศได้ กิน[[แพลงก์ตอน]]เป็นอาหาร เป็นปลาที่หวงถิ่นมากจะมีเขตที่อยู่ของตนเอง ปลาการ์ตูนออกลูกเป็นไข่ พ่อแม่ปลาจะช่วยกันเลี้ยงดูลูก
'''ปลาการ์ตูน'''(อังกฤษ:Clownfish) เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในทะเล มีหลายพันธุ์ จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับพวกปลาสลิดหิน (Pomacentridae) พบอาศัยอยู่ตามแนวปะการังในบริเวณเส้นศูนย์สูตรทั่วโลก อาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเล (sea anemone) มีสีสันสวยงาม โดยทั่วไปประกอบด้วยสีส้ม แดง ดำ เหลือง และมีสีขาวพาดกลางลำตัว 1-3 แถบ อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นชนิดเดียวกัน ก็จะมีสีแตกต่างกันเล็กน้อยเสมอ ซึ่งความแตกต่างนี้ทำให้มันจำคู่ได้ นอกจากนั้น แหล่งที่อยู่อาศัยที่แตกต่างกันทำให้เกิดการแปรผันด้วย ปลาการ์ตูนอยู่กันเป็นครอบครัว กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร เป็นปลาที่หวงถิ่นมาก มีเขตที่อยู่ของตนเอง

ปลาการ์ตูนออกลูกเป็นไข่และสามารถเปลี่ยนเพศได้ ปลาการ์ตูนจะเปลี่ยนเพศเมื่อสิ่งแวดล้อมกำหนดบทบาทให้ โดยในระยะแรกเริ่มหลังจากที่ฟักออกจากไข่ยังไม่สามารถกำหนดได้ว่าเป็นเพศใด จนกว่าจะเป็นตัวเต็มวัยจึงจะปรากฏเป็นปลาเพศผู้ และในปลารุ่นเดียวกันที่มีขนาดใหญ่ที่สุดจะต้องเปลี่ยนแปลงเป็นปลาเพศเมีย โดยในสังคมของปลาการ์ตูนกลุ่มหนึ่งๆ จะมีปลาเพศเมียเพียงตัวเดียวเท่านั้น ตัวใหญ่ที่สุดในฝูง สีสันไม่สดใสมากนัก พฤติกรรมก้าวร้าว ส่วนปลาเพศผู้มีขนาดเล็กกว่า สีสันสวยงามกว่า จากปลาเพศผู้ เมื่อมีสิ่งเร้าจากภายนอกและภายในเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ เทเลนฟาลอน (Telenephalon) จะส่งสัญญาณมาที่ธาลามัส (Thalamus) และไฮโปธาลามัส (Hypothalamus) ส่งคำสั่งไปยังต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมนเฉพาะของเพศผู้ อวัยวะเป้าหมายส่วนที่ จะพัฒนาจนสามารถทำงานได้คืออัณฑะผลิตสเปิร์ม ส่วนตัวที่ใหญ่ ที่สุดจะมีพัฒนาการตรงกันข้าม ไฮโปธาลามัสจะส่งคำสั่งไปยังต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมนเฉพาะของเพศเมีย อวัยวะเป้าหมายคือรังไข่ ผลิตไข่ และถ้าเพศเมียตายไป ปลาการ์ตูนเพศผู้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด แข็งแกร่งที่สุด จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพศทดแทนด้วยกลไกแบบหลังภายใน 4 สัปดาห์ โดยจะเพิ่มขนาดอย่างรวดเร็ว พร้อมสีสันสวยน้อยลง


ปลาการ์ตูนมีทั้งหมด 28 ชนิด ในเมืองไทยพบปลาการ์ตูน 7 ชนิด<ref>[http://www.nairobroo.com/nairobroo_monthly/2004/04/doyouknow_nemo.htm รู้หรือไม่รู้ ดอกไม้ของนายนีโม่]</ref> พบทั้ง[[อ่าวไทย]]และ[[อันดามัน]]ได้แก่ [[ปลาการ์ตูนส้มขาว]] [[ปลาการ์ตูนอินเดียแดง]] [[ปลาการ์ตูนแดง]] [[ปลาการ์ตูนมะเขือเทศ]] [[ปลาการ์ตูนอานม้า]] [[ปลาการ์ตูนลายปล้อง]] [[ปลาการ์ตูนอินเดียน]]
ปลาการ์ตูนมีทั้งหมด 28 ชนิด ในเมืองไทยพบปลาการ์ตูน 7 ชนิด<ref>[http://www.nairobroo.com/nairobroo_monthly/2004/04/doyouknow_nemo.htm รู้หรือไม่รู้ ดอกไม้ของนายนีโม่]</ref> พบทั้ง[[อ่าวไทย]]และ[[อันดามัน]]ได้แก่ [[ปลาการ์ตูนส้มขาว]] [[ปลาการ์ตูนอินเดียแดง]] [[ปลาการ์ตูนแดง]] [[ปลาการ์ตูนมะเขือเทศ]] [[ปลาการ์ตูนอานม้า]] [[ปลาการ์ตูนลายปล้อง]] [[ปลาการ์ตูนอินเดียน]]
บรรทัด 39: บรรทัด 41:
== ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล ==
== ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล ==


ดอกไม้ทะเลที่ปลาการ์ตูนชื่นชอบเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มันมีเข็มพิษ แต่ไม่เป็นอันตรายกับปลาการ์ตูน เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สองชนิดพึ่งพากันอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย ดอกไม้ทะเลมีหนวดยาวมากมายพลิ้วไหวไปตามกระแสน้ำ ส่วนร่างยึดติดกับโขดหินหรือปะการังเอาไว้ หนวดที่เห็นอ่อนนุ่มเป็นอวัยวะสำคัญที่ใช้หาอาหาร บริเวณปลายหนวดเต็มไปด้วยเข็มพิษจำนวนมหาศาล เมื่อมีปลาว่ายหลงผ่านมา ดอกไม้ทะเลจะใช้หนวดพิษทิ่มแทงเหยื่อให้เป็นอัมพาต แล้วใช้หนวดจับเข้าปาก จึงไม่มีปลาอื่นกล้าว่ายเข้าใกล้ดอกไม้ทะเล ยกเว้นเพียงปลาการ์ตูน มันเที่ยวว่ายหากินสาหร่ายเล็กๆ อยู่รอบๆ ครั้นมีศัตรูมารบกวน มันจะรีบว่ายเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในกอดอกไม้ทะเล
ชอบอยู่กับ[[ดอกไม้ทะเล]] ที่มีเข็มพิษสำหรับป้องกันอันตรายแต่ไม่เป็นอันตรายกับปลาการ์ตูนทำให้สามารถอยู่กันอย่างพึ่งพาอาศัยกัน ที่ปลาการ์ตูนไม่ตายเพราะพิษของดอกไม้ทะเลนั้นเพราะมีเมือกเคลือบทั้งตัวถ้าเอาเมือกออกปลาการ์ตูนก็จะถูกพิษของดอกไม้ทะเลตาย ปลาการ์ตูนแต่ละชนิดจะชอบอาศัยอยู่ตามดอกไม้ทะเลไม่เหมือนกัน

ซึ่งที่จริงปลาการ์ตูนก็ได้รับพิษเช่นกัน แต่มันรู้จักปรับตัวโดยใช้วิธีว่ายเข้าไปสัมผัสกับดอกไม้ทะเลทีละน้อยๆ แล้วถอยออกมา ทำอยู่จนกระทั่งร่างกายสร้างเมือกขึ้นมาคลุมตัว ช่วยป้องกันเข็มพิษดอกไม้ทะเลได้ในที่สุด สรุปว่าที่ปลาการ์ตูนไม่ตายเพราะพิษของดอกไม้ทะเลเพราะมีเมือกเคลือบทั้งตัว ถ้าเอาเมือกออกปลาการ์ตูนจะถูกพิษของดอกไม้ทะเลตาย


== การเพาะพันธุ์ ==
== การเพาะพันธุ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:37, 20 กุมภาพันธ์ 2553

ปลาการ์ตูน
Ocellaris Clownfish, Amphiprion ocellaris
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Pomacentridae
วงศ์ย่อย: Amphiprioninae
สปีชีส์

27 สปีชีส์ ได้แก่
Amphiprion allardi - Allard's Clownfish
Amphiprion melanopus - Cinnamon Clownfish
Amphiprion clarkii - Clark's Anemonefish
Amphiprion ocellaris - Ocellaris Clownfish
Amphiprion percula - Percula Clownfish
Amphiprion perideraion - Pink Skunk Clownfish
Amphiprion polymnus - Saddleback Clownfish
Amphiprion sebae - Sebae Clownfish
Amphiprion tricinctus - Three-Band Anemonefish
Amphiprion ephippium - Red Saddleback Anemonefish
Amphiprion frenatus - Tomato Clownfish
Amphiprion chrysopterus - Orange-fin Anemonefish
Amphiprion akallopisos - Skunk Clownfish
Amphiprion nigripes - Black-footed Clownfish
Amphiprion sandaracinos - Orange Skunk Clownfish
Amphiprion rubacinctus - Australian Clownfish
Premnas biaculeatus - Maroon Clownfish

ปลาการ์ตูน(อังกฤษ:Clownfish) เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในทะเล มีหลายพันธุ์ จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับพวกปลาสลิดหิน (Pomacentridae) พบอาศัยอยู่ตามแนวปะการังในบริเวณเส้นศูนย์สูตรทั่วโลก อาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเล (sea anemone) มีสีสันสวยงาม โดยทั่วไปประกอบด้วยสีส้ม แดง ดำ เหลือง และมีสีขาวพาดกลางลำตัว 1-3 แถบ อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นชนิดเดียวกัน ก็จะมีสีแตกต่างกันเล็กน้อยเสมอ ซึ่งความแตกต่างนี้ทำให้มันจำคู่ได้ นอกจากนั้น แหล่งที่อยู่อาศัยที่แตกต่างกันทำให้เกิดการแปรผันด้วย ปลาการ์ตูนอยู่กันเป็นครอบครัว กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร เป็นปลาที่หวงถิ่นมาก มีเขตที่อยู่ของตนเอง

ปลาการ์ตูนออกลูกเป็นไข่และสามารถเปลี่ยนเพศได้ ปลาการ์ตูนจะเปลี่ยนเพศเมื่อสิ่งแวดล้อมกำหนดบทบาทให้ โดยในระยะแรกเริ่มหลังจากที่ฟักออกจากไข่ยังไม่สามารถกำหนดได้ว่าเป็นเพศใด จนกว่าจะเป็นตัวเต็มวัยจึงจะปรากฏเป็นปลาเพศผู้ และในปลารุ่นเดียวกันที่มีขนาดใหญ่ที่สุดจะต้องเปลี่ยนแปลงเป็นปลาเพศเมีย โดยในสังคมของปลาการ์ตูนกลุ่มหนึ่งๆ จะมีปลาเพศเมียเพียงตัวเดียวเท่านั้น ตัวใหญ่ที่สุดในฝูง สีสันไม่สดใสมากนัก พฤติกรรมก้าวร้าว ส่วนปลาเพศผู้มีขนาดเล็กกว่า สีสันสวยงามกว่า จากปลาเพศผู้ เมื่อมีสิ่งเร้าจากภายนอกและภายในเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ เทเลนฟาลอน (Telenephalon) จะส่งสัญญาณมาที่ธาลามัส (Thalamus) และไฮโปธาลามัส (Hypothalamus) ส่งคำสั่งไปยังต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมนเฉพาะของเพศผู้ อวัยวะเป้าหมายส่วนที่ จะพัฒนาจนสามารถทำงานได้คืออัณฑะผลิตสเปิร์ม ส่วนตัวที่ใหญ่ ที่สุดจะมีพัฒนาการตรงกันข้าม ไฮโปธาลามัสจะส่งคำสั่งไปยังต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมนเฉพาะของเพศเมีย อวัยวะเป้าหมายคือรังไข่ ผลิตไข่ และถ้าเพศเมียตายไป ปลาการ์ตูนเพศผู้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด แข็งแกร่งที่สุด จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพศทดแทนด้วยกลไกแบบหลังภายใน 4 สัปดาห์ โดยจะเพิ่มขนาดอย่างรวดเร็ว พร้อมสีสันสวยน้อยลง

ปลาการ์ตูนมีทั้งหมด 28 ชนิด ในเมืองไทยพบปลาการ์ตูน 7 ชนิด[1] พบทั้งอ่าวไทยและอันดามันได้แก่ ปลาการ์ตูนส้มขาว ปลาการ์ตูนอินเดียแดง ปลาการ์ตูนแดง ปลาการ์ตูนมะเขือเทศ ปลาการ์ตูนอานม้า ปลาการ์ตูนลายปล้อง ปลาการ์ตูนอินเดียน

ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล

ดอกไม้ทะเลที่ปลาการ์ตูนชื่นชอบเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มันมีเข็มพิษ แต่ไม่เป็นอันตรายกับปลาการ์ตูน เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สองชนิดพึ่งพากันอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย ดอกไม้ทะเลมีหนวดยาวมากมายพลิ้วไหวไปตามกระแสน้ำ ส่วนร่างยึดติดกับโขดหินหรือปะการังเอาไว้ หนวดที่เห็นอ่อนนุ่มเป็นอวัยวะสำคัญที่ใช้หาอาหาร บริเวณปลายหนวดเต็มไปด้วยเข็มพิษจำนวนมหาศาล เมื่อมีปลาว่ายหลงผ่านมา ดอกไม้ทะเลจะใช้หนวดพิษทิ่มแทงเหยื่อให้เป็นอัมพาต แล้วใช้หนวดจับเข้าปาก จึงไม่มีปลาอื่นกล้าว่ายเข้าใกล้ดอกไม้ทะเล ยกเว้นเพียงปลาการ์ตูน มันเที่ยวว่ายหากินสาหร่ายเล็กๆ อยู่รอบๆ ครั้นมีศัตรูมารบกวน มันจะรีบว่ายเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในกอดอกไม้ทะเล

ซึ่งที่จริงปลาการ์ตูนก็ได้รับพิษเช่นกัน แต่มันรู้จักปรับตัวโดยใช้วิธีว่ายเข้าไปสัมผัสกับดอกไม้ทะเลทีละน้อยๆ แล้วถอยออกมา ทำอยู่จนกระทั่งร่างกายสร้างเมือกขึ้นมาคลุมตัว ช่วยป้องกันเข็มพิษดอกไม้ทะเลได้ในที่สุด สรุปว่าที่ปลาการ์ตูนไม่ตายเพราะพิษของดอกไม้ทะเลเพราะมีเมือกเคลือบทั้งตัว ถ้าเอาเมือกออกปลาการ์ตูนจะถูกพิษของดอกไม้ทะเลตาย

การเพาะพันธุ์

ปัจจุบันได้มีการเพาะพันธุ์ได้ตามศูนย์วิจัยต่าง ฟาร์ม เพื่อจำหน่าย แต่ลูกปลาที่ได้จากการเพาะพันธุ์ไม่สามารถนำไปปล่อยแหล่งที่อยู่ตามธรรมชาติของปลาได้ เพราะว่าปลาไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติได้ไม่สามารถป้องกันตัวเองจากปลาใหญ่ชนิดต่างๆ จึงต้องไปเป็นเหยื่อกับปลาที่อยู่ตามธรรมชาติ

อ้างอิง