ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอเกียรติยศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''หอเกียรติยศ''' บางครั้งอาจเรียก '''"หอเรืองนาม"''' (Hall of fame) หมายถึง[[พิพิธภัณฑ์]]ประเภทหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเชิดชูบุคคลที่มุ่งมั่นอย่างสูงที่ได้ประกอบคุณงามความดีและมีความวิริยะสูงสุดจนประสบผลสำเร็จในกิจกรรมสาขาต่างๆ ในบางกรณี หอเกียรติยศอาจประกอบด้วยห้องโถงและห้องต่างๆ หรือพิพิธภัณฑ์ที่ใช้ในการจัดเก็บและแสดงสิ่งเชิดชูเกียรติยศของผู้ได้รับการยกย่อง เช่น รูปปั้น โล่ ถ้วยรางวัล เข็มขัดแชมเปี้ยน รวมทั้งสิ่งของที่ระลึกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่หอเกียรติยศบางแห่งก็ทำเพียงแต่แสดงรูปปั้นท่อนบนพร้อมการจารึกชื่อบุคคลผู้ได้รับการเชิดชูจากตามประเภทที่หอแห่งนั้นๆ ดำเนินการโดยไม่แสดงสิ่งของ เช่น ที่วิหารวาลฮาลลา
'''หอเกียรติยศ''' บางครั้งอาจเรียก '''"หอเรืองนาม"''' (Hall of fame) หมายถึง[[พิพิธภัณฑ์]]ประเภทหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเชิดชูบุคคลที่มุ่งมั่นอย่างสูงที่ได้ประกอบคุณงามความดีและมีความวิริยะสูงสุดจนประสบผลสำเร็จในกิจกรรมสาขาต่างๆ ในบางกรณี หอเกียรติยศอาจประกอบด้วยห้องโถงและห้องต่างๆ หรือเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใช้ในการจัดเก็บและแสดงสิ่งเชิดชูเกียรติยศของผู้ได้รับการยกย่อง เช่น รูปปั้น โล่ ถ้วยรางวัล เข็มขัดแชมเปี้ยน รวมทั้งสิ่งของที่ระลึกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่หอเกียรติยศบางแห่งก็ทำเพียงแต่แสดงรูปปั้นท่อนบนพร้อมการจารึกชื่อบุคคลผู้ได้รับการเชิดชูจากตามประเภทที่หอแห่งนั้นๆ ดำเนินการโดยไม่แสดงสิ่งของ เช่น ที่วิหารวาลฮาลลา




บรรทัด 8: บรรทัด 8:
*หอเกียรติเฉพาะด้นอื่นๆ เช่น ด้าน[[การประดิษฐ์คิดค้น]]
*หอเกียรติเฉพาะด้นอื่นๆ เช่น ด้าน[[การประดิษฐ์คิดค้น]]


ผู้ดำเนินการหรือเจ้าของหอเกียรติยศอาจเป็นทั้งภาครัฐและภาคเอกชน แต่ส่วนใหญ่มักเป็นองค์กรหรือสมาคมหรือชมรมของผู้ประกอบกิจกรรมนั้นๆ ทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น เช่นหอเกียรติยศนักเขียนภาพการ์ตูนแคนาดา, หอเกียรติยศกอล์ฟแห่งโลก ฯลฯ
ในแต่ละประเภทจะแบ่งย่อยลงไป เช่นด้านกีฬา แบ่งลงไปตามชนิดกีฬา ดังที่[[มิกกี แมนเทิล]] นักเบสบอลอเมริกันได้รับการบรรจุชื่อไว้ใน"หอเกียรติยศเบสบอลแห่งชาติ" เป็นต้น ผู้ดำเนินการหรือเจ้าของหอเกียรติยศอาจเป็นทั้งภาครัฐและภาคเอกชน แต่ส่วนใหญ่มักเป็นองค์กรหรือสมาคมหรือชมรมของผู้ประกอบกิจกรรมนั้นๆ ทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น เช่นหอเกียรติยศนักเขียนภาพการ์ตูนแคนาดา, หอเกียรติยศกอล์ฟแห่งโลก ฯลฯ


[[Image:Walhalla innen.jpg|thumb|ห้องโถงหอเกียรติยศวิหารวาลฮาลลา ประเทศเยอรมัน]]
[[Image:Walhalla innen.jpg|thumb|ห้องโถงหอเกียรติยศวิหารวาลฮาลลา ประเทศเยอรมัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:22, 20 กันยายน 2549

หอเกียรติยศ บางครั้งอาจเรียก "หอเรืองนาม" (Hall of fame) หมายถึงพิพิธภัณฑ์ประเภทหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเชิดชูบุคคลที่มุ่งมั่นอย่างสูงที่ได้ประกอบคุณงามความดีและมีความวิริยะสูงสุดจนประสบผลสำเร็จในกิจกรรมสาขาต่างๆ ในบางกรณี หอเกียรติยศอาจประกอบด้วยห้องโถงและห้องต่างๆ หรือเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใช้ในการจัดเก็บและแสดงสิ่งเชิดชูเกียรติยศของผู้ได้รับการยกย่อง เช่น รูปปั้น โล่ ถ้วยรางวัล เข็มขัดแชมเปี้ยน รวมทั้งสิ่งของที่ระลึกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่หอเกียรติยศบางแห่งก็ทำเพียงแต่แสดงรูปปั้นท่อนบนพร้อมการจารึกชื่อบุคคลผู้ได้รับการเชิดชูจากตามประเภทที่หอแห่งนั้นๆ ดำเนินการโดยไม่แสดงสิ่งของ เช่น ที่วิหารวาลฮาลลา


หอเกียรติยศ ได้รับการแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ไว้หลายประเภทได้แก่

ในแต่ละประเภทจะแบ่งย่อยลงไป เช่นด้านกีฬา แบ่งลงไปตามชนิดกีฬา ดังที่มิกกี แมนเทิล นักเบสบอลอเมริกันได้รับการบรรจุชื่อไว้ใน"หอเกียรติยศเบสบอลแห่งชาติ" เป็นต้น ผู้ดำเนินการหรือเจ้าของหอเกียรติยศอาจเป็นทั้งภาครัฐและภาคเอกชน แต่ส่วนใหญ่มักเป็นองค์กรหรือสมาคมหรือชมรมของผู้ประกอบกิจกรรมนั้นๆ ทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น เช่นหอเกียรติยศนักเขียนภาพการ์ตูนแคนาดา, หอเกียรติยศกอล์ฟแห่งโลก ฯลฯ

ห้องโถงหอเกียรติยศวิหารวาลฮาลลา ประเทศเยอรมัน

หอเกียรติยศที่เก่าแก่แห่งหนึ่งที่นับเป็นตัวอย่างได้คือ "วิหารวาลฮาลลา" หรือ หอเกียรติยศและชื่อเสียงแห่งเยอรมัน ในแคว้นบาวาเรียซึ่งเปิดเมื่อ พ.ศ. 2355


นอกจากหอเกียรติยศซึ่งเป็นอาคารแล้ว ยังมีรูปแบบที่ใช้บาทวิถีเป็นที่แสดงที่เรียกว่า "บาทวิถีแห่งผู้เรืองนาม" (Walk of fame) เช่น บาทวิถีแห่งผู้เรืองนามในฮอลลีวูด บาทวิถีแห่งผู้เรืองนามแห่งแคนาดา

ดูเพิ่ม

  • รายชื่อหอเกียรติยศในสหรัฐฯ [1]
  • รายชื่อบุคคลในหอเกียรติยศนักประดิษฐ์แห่งชาติสหรัฐฯ[2]
  • วาลฮาลลาเทมเปิล บาวาเรีย [3]
  • บาทวิถีแห่งผู้เรืองนามในฮอลลีวูด [4]
  • บาทวิถีแห่งผู้เรืองนามในแคนาดา [5]

อ้างอิง

  • วิกิพีเดียหน้าภาษาอังกฤษ [6]