ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎการอนุรักษ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chrisada (คุย | ส่วนร่วม)
marked as stub
Jung (คุย | ส่วนร่วม)
some modifications
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{stub}}
{{stub}}


'''กฎการอนุรักษ์'''ในเชิง[[ฟิสิกส์]]กล่าวถึงปริมาณบางอย่างในระบบปิด ซึ่งมีค่าคงที่ไม่ว่าระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ตัวอย่างของกฎการอนุรักษ์ซึ่งเป็นจริงเสมอได้แก่
'''กฎการอนุรักษ์''' (conservative laws) ในเชิง[[ฟิสิกส์]]กล่าวถึงปริมาณบางอย่างในระบบปิด ซึ่งมีค่าคงที่ไม่ว่าระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ตัวอย่างของกฎการอนุรักษ์ซึ่งเป็นจริงเสมอได้แก่


* [[การอนุรักษ์พลังงาน]]
* [[การอนุรักษ์พลังงาน]]
บรรทัด 11: บรรทัด 11:


* การอนุรักษ์[[เลขบาริออน]]
* การอนุรักษ์[[เลขบาริออน]]
* การอนุรักษ์[[flavor]] (ไม่เป็นจริงใน[[อันตรกิริยานิวเคลียร์แบบอ่อน]])
* การอนุรักษ์[[เฟลเวอร์]] (flavor) หรือ[[ตัวเลขควอนตัมของอนุภาคพื้นฐาน]] (ไม่เป็นจริงใน[[อันตรกิริยานิวเคลียร์แบบอ่อน]])
* การอนุรักษ์[[มวล]] (เป็นจริงเฉพาะกรณีที่ไม่เกี่ยวข้องกับ[[ทฤษฎีสัมพัธภาพ]]
* การอนุรักษ์[[มวล]] (เป็นจริงเฉพาะกรณีที่ไม่เกี่ยวข้องกับ[[ทฤษฎีสัมพัธภาพ]]


[[ทฤษฎีของนอยเธอร์]] ([[:en:Noether's theorem]]) แสดงให้เห็นว่าในระบบที่อธิบายได้ด้วย [[:en:Principle of least action]] (นั่นคือ ระบบมี [[Lagrangian]] และ [[Hamiltonian]]) กฎการอนุรักษ์นั้นมีความสัมพันธ์กับการที่กฎทางฟิสิกส์มีคุณสมบัติ [[invariant]] เทียบกับ [[transformation]] อย่างหนึ่ง ตัวอย่างเช่น การที่กฎทางฟิสิกส์[[ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา]]นำไปสู่การอนุรักษ์ของพลังงานในระบบ และการที่กฎทางฟิสิกส์[[ไม่เปลียนแปลงตามตำแหน่ง]]นำไปสู่การอนุรักษ์โมเมนตัม เป็นต้น
[[ทฤษฎีของนอยเธอร์]] (Noether's theorem) แสดงให้เห็นว่าในระบบที่อธิบายได้ด้วย[[หลักการเปลี่ยนแปลงที่น้อยที่สุด]] (principle of least action) (นั่นคือ ระบบมี[[สมการการเคลื่อนที่แบบลากรองช์]]และ[[สมการการเคลื่อนที่แบบแฮลมิโตเนียน]]) กฎการอนุรักษ์นั้นมีความสัมพันธ์กับคุณสมบัติ[[ความไม่แปรเปลี่ยน (ฟิสิกส์)|ไม่แปรเปลี่ยน]] (invariance) ของกฎทางฟิสิกส์ (ใน[[การแปลง]] (transformation) อย่างหนึ่ง). ตัวอย่างเช่น การที่กฎทางฟิสิกส์[[ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา]]นำไปสู่การอนุรักษ์ของพลังงานในระบบ และการที่กฎทางฟิสิกส์[[ไม่เปลียนแปลงตามตำแหน่ง]]นำไปสู่การอนุรักษ์โมเมนตัม เป็นต้น





รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:53, 1 กรกฎาคม 2548

กฎการอนุรักษ์ (conservative laws) ในเชิงฟิสิกส์กล่าวถึงปริมาณบางอย่างในระบบปิด ซึ่งมีค่าคงที่ไม่ว่าระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ตัวอย่างของกฎการอนุรักษ์ซึ่งเป็นจริงเสมอได้แก่

นอกจากนี้ยังมีกฏการอนุรักษ์ซึ่งเป็นจริงในกรณีพิเศษบางกรณี เช่นกรณีที่ความเร็วที่เกี่ยวข้องมีค่าต่ำ หรือเป็นจริงในช่วงเวลาสั้นๆ หรือเป็นจริงเฉพาะกับบางอันตรกิริยาเท่านั้น ตัวอย่างเช่น

ทฤษฎีของนอยเธอร์ (Noether's theorem) แสดงให้เห็นว่าในระบบที่อธิบายได้ด้วยหลักการเปลี่ยนแปลงที่น้อยที่สุด (principle of least action) (นั่นคือ ระบบมีสมการการเคลื่อนที่แบบลากรองช์และสมการการเคลื่อนที่แบบแฮลมิโตเนียน) กฎการอนุรักษ์นั้นมีความสัมพันธ์กับคุณสมบัติไม่แปรเปลี่ยน (invariance) ของกฎทางฟิสิกส์ (ในการแปลง (transformation) อย่างหนึ่ง). ตัวอย่างเช่น การที่กฎทางฟิสิกส์ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลานำไปสู่การอนุรักษ์ของพลังงานในระบบ และการที่กฎทางฟิสิกส์ไม่เปลียนแปลงตามตำแหน่งนำไปสู่การอนุรักษ์โมเมนตัม เป็นต้น


หลักปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับกฎการอนุรักษ์

  • สิ่งที่ไม่เปลียนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทั้งหลาย

แนวความคิดที่ว่าบางสิ่งนั้นไม่เคยเปลี่ยนแปลงไม่ว่าโลกหรือจักรวาลจะเปลี่ยนไปอย่างไร เป็นแรงบันดาลใจของนักคิดและนักวิทยาศาสตร์มาเป็นเวลานาน

ปริมาณที่คงที่เหล่านี้ ดูจะมีความหมายสำคัญมากกว่าปริมาณทางฟิสิกส์อื่นๆ จนบางคนอาจเรียกว่าเป็นปริมาณซึ่งบ่งบอก 'ความเป็นจริงทางฟิสิกส์'ทีเดียว กฎการอนุรักษ์ทั้งหลายเพิ่มความเรียบง่ายให้โครงสร้างของทฤษฎีทางฟิสิกส์ และเป็นพื้นฐานสำคัญของการแก้สมการทางฟิสิกส์จำนวนมาก