ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้อต่อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: eu:Artikulazio
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tl:Kasu-kasuan; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 12: บรรทัด 12:


=== ข้อต่อแบบกระดูกอ่อน (Cartilaginous joint) ===
=== ข้อต่อแบบกระดูกอ่อน (Cartilaginous joint) ===
[[ภาพ:Gray298.png|thumb|200px|right|ภาพวาดแสดงหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นตัวอย่างของข้อต่อแบบกระดูกอ่อน]]
[[ไฟล์:Gray298.png|thumb|200px|right|ภาพวาดแสดงหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นตัวอย่างของข้อต่อแบบกระดูกอ่อน]]
ข้อต่อในแบบนี้จะมีการเชื่อมติดกันโดยมี[[กระดูกอ่อน]]คั่นอยู่ตรงกลาง เนื่องจากกระดูกอ่อนมีความยืดหยุ่น จึงทำให้ข้อต่อในลักษณะนี้มีการเคลื่อนไหวได้มากกว่าข้อต่อแบบเส้นใย แต่น้อยกว่าข้อต่อแบบซินโนเวียล ข้อต่อแบบกระดูกอ่อนสามารถจำแนกออกได้เป็นสองแบบ ตามลักษณะของกระดูกอ่อน คือ
ข้อต่อในแบบนี้จะมีการเชื่อมติดกันโดยมี[[กระดูกอ่อน]]คั่นอยู่ตรงกลาง เนื่องจากกระดูกอ่อนมีความยืดหยุ่น จึงทำให้ข้อต่อในลักษณะนี้มีการเคลื่อนไหวได้มากกว่าข้อต่อแบบเส้นใย แต่น้อยกว่าข้อต่อแบบซินโนเวียล ข้อต่อแบบกระดูกอ่อนสามารถจำแนกออกได้เป็นสองแบบ ตามลักษณะของกระดูกอ่อน คือ
* '''[[ซินคอนโดรซิส]] (Synchondrosis) ''' เป็นข้อต่อที่กระดูกสองชิ้นเชื่อมกันด้วย[[กระดูกอ่อนแบบไฮยาลิน]] (hyaline cartilage) ซึ่งเป็นกระดูกอ่อนที่พบได้ตามปลายของกระดูก ตัวอย่างของข้อต่อในลักษณะนี้ ได้แก่ข้อต่อระหว่าง[[กระดูกซี่โครง]]กับ[[กระดูกอก]]
* '''[[ซินคอนโดรซิส]] (Synchondrosis) ''' เป็นข้อต่อที่กระดูกสองชิ้นเชื่อมกันด้วย[[กระดูกอ่อนแบบไฮยาลิน]] (hyaline cartilage) ซึ่งเป็นกระดูกอ่อนที่พบได้ตามปลายของกระดูก ตัวอย่างของข้อต่อในลักษณะนี้ ได้แก่ข้อต่อระหว่าง[[กระดูกซี่โครง]]กับ[[กระดูกอก]]
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


=== ข้อต่อแบบซินโนเวียล (Synovial joint) ===
=== ข้อต่อแบบซินโนเวียล (Synovial joint) ===
[[ภาพ:Gray300.png|thumb|200px|right|โครงสร้างพื้นฐานของข้อต่อแบบซินโนเวียล]]
[[ไฟล์:Gray300.png|thumb|200px|right|โครงสร้างพื้นฐานของข้อต่อแบบซินโนเวียล]]
ข้อต่อแบบซินโนเวียลจะไม่ได้มีการเชื่อมติดต่อกันของกระดูกโดยตรง แต่จะมีโครงสร้างที่เรียกว่า [[แคปซูลข้อต่อ]] (articular capsule) เป็นตัวกลาง และภายในแคปซูลข้อต่อนี้จะเป็น[[โพรงข้อต่อ]] (articular space) ซึ่งจะมีของเหลวคือ [[ซินโนเวียล ฟลูอิด]] (synovial fluid) ที่สร้างจากเนื้อเยื่อโดยรอบแคปซูลข้อต่อ ช่วยในการเคลื่อนไหวของข้อต่อ ข้อต่อในแบบซินโนเวียลนี้จึงเป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก และพบได้ในเกือบทุกข้อต่อของทั้งรยางค์บนและรยางค์ล่าง
ข้อต่อแบบซินโนเวียลจะไม่ได้มีการเชื่อมติดต่อกันของกระดูกโดยตรง แต่จะมีโครงสร้างที่เรียกว่า [[แคปซูลข้อต่อ]] (articular capsule) เป็นตัวกลาง และภายในแคปซูลข้อต่อนี้จะเป็น[[โพรงข้อต่อ]] (articular space) ซึ่งจะมีของเหลวคือ [[ซินโนเวียล ฟลูอิด]] (synovial fluid) ที่สร้างจากเนื้อเยื่อโดยรอบแคปซูลข้อต่อ ช่วยในการเคลื่อนไหวของข้อต่อ ข้อต่อในแบบซินโนเวียลนี้จึงเป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก และพบได้ในเกือบทุกข้อต่อของทั้งรยางค์บนและรยางค์ล่าง


บรรทัด 28: บรรทัด 28:


=== ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก (Diarthrosis) ===
=== ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก (Diarthrosis) ===
[[ภาพ:Gelenke_Zeichnung01.jpg|thumb|250px|right|ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ 1. แบบเบ้า 2. แบบวงรี 3. แบบอานม้า 4. แบบบานพับ 5. แบบเดือย]]
[[ไฟล์:Gelenke_Zeichnung01.jpg|thumb|250px|right|ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ 1. แบบเบ้า 2. แบบวงรี 3. แบบอานม้า 4. แบบบานพับ 5. แบบเดือย]]
[[ภาพ:Gray342.png|thumb|200px|right|ภาพวาดแสดงข้อต่อสะโพก ซึ่งเป็นข้อต่อแบบเบ้าที่ชัดเจน]]
[[ไฟล์:Gray342.png|thumb|200px|right|ภาพวาดแสดงข้อต่อสะโพก ซึ่งเป็นข้อต่อแบบเบ้าที่ชัดเจน]]
ข้อต่อในลักษณะนี้มักจะเป็นข้อต่อแบบซินโนเวียล และมีการเคลื่อนไหวได้ทั้งในสองมิติและสามมิติ ข้อต่อในกลุ่มนี้ยังสามารถแบ่งออกได้ตามรูปร่างลักษณะของข้อต่อเป็น 6 แบบ ได้แก่
ข้อต่อในลักษณะนี้มักจะเป็นข้อต่อแบบซินโนเวียล และมีการเคลื่อนไหวได้ทั้งในสองมิติและสามมิติ ข้อต่อในกลุ่มนี้ยังสามารถแบ่งออกได้ตามรูปร่างลักษณะของข้อต่อเป็น 6 แบบ ได้แก่
* '''[[ข้อต่อแบบเบ้า]] (Ball and socket joint) ''' จัดว่าเป็นข้อต่อที่มีความอิสระในการเคลื่อนไหวสูงที่สุด เนื่องจากสามารถเคลื่อนไหวได้ในสามมิติ อย่างไรก็ตาม ข้อต่อแบบเบ้ามีโอกาสเลื่อนหลุดได้ง่าย จึงจำเป็นต้องมี[[เอ็นรอบข้อต่อ]]และ[[กล้ามเนื้อ]]จำนวนมากเพื่อเพิ่มความเสถียรของข้อต่อ ตัวอย่างของข้อต่อแบบเบ้า ได้แก่[[ข้อต่อกลีโนฮิวเมอรัล]] (glenohumeral joint) ของ[[ไหล่]] และ[[ข้อต่อสะโพก]] (hip joint)
* '''[[ข้อต่อแบบเบ้า]] (Ball and socket joint) ''' จัดว่าเป็นข้อต่อที่มีความอิสระในการเคลื่อนไหวสูงที่สุด เนื่องจากสามารถเคลื่อนไหวได้ในสามมิติ อย่างไรก็ตาม ข้อต่อแบบเบ้ามีโอกาสเลื่อนหลุดได้ง่าย จึงจำเป็นต้องมี[[เอ็นรอบข้อต่อ]]และ[[กล้ามเนื้อ]]จำนวนมากเพื่อเพิ่มความเสถียรของข้อต่อ ตัวอย่างของข้อต่อแบบเบ้า ได้แก่[[ข้อต่อกลีโนฮิวเมอรัล]] (glenohumeral joint) ของ[[ไหล่]] และ[[ข้อต่อสะโพก]] (hip joint)
บรรทัด 44: บรรทัด 44:


{{ข้อต่อของรยางค์บน}}
{{ข้อต่อของรยางค์บน}}

[[หมวดหมู่:ระบบโครงกระดูก]]
[[หมวดหมู่:ระบบโครงกระดูก]]


บรรทัด 84: บรรทัด 85:
[[sv:Led]]
[[sv:Led]]
[[te:కీలు]]
[[te:కీలు]]
[[tl:Kasu-kasuan]]
[[uk:Суглоб]]
[[uk:Суглоб]]
[[yi:געלענק]]
[[yi:געלענק]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:51, 28 มกราคม 2553

ข้อต่อ (Joints) ในทางกายวิภาคศาสตร์ หมายถึงบริเวณที่กระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมีการติดต่อกัน ทำให้กระดูกมีการทำงานร่วมกันเป็นระบบเพื่อการค้ำจุนปกป้องร่างกายและการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆที่เหมาะสม ข้อต่อในร่างกายมนุษย์มีหลายแบบ และสามารถจัดจำแนกได้ตามลักษณะโครงสร้าง และคุณสมบัติในการเคลื่อนไหว

ข้อต่อจัดจำแนกตามโครงสร้าง

เราสามารถแบ่งชนิดของข้อต่อในร่างกายได้ตามลักษณะการติดต่อกันของกระดูกแต่ละชิ้น โดยแบ่งได้เป็นสามแบบ คือ ข้อต่อแบบเส้นใย (fibrous joints) ข้อต่อแบบกระดูกอ่อน (cartilaginous joints) และข้อต่อแบบซินโนเวียล (synovial joints)

ข้อต่อแบบเส้นใย (Fibrous joints)

ในข้อต่อลักษณะนี้ กระดูกจะเชื่อมติดกันโดยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนาแน่น (dense connective tissue) ซึ่งทำให้ข้อต่อชนิดนี้เคลื่อนไหวไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวได้น้อยมาก ข้อต่อในลักษณะนี้ยังแบ่งได้เป็นสามแบบ คือ

ข้อต่อแบบกระดูกอ่อน (Cartilaginous joint)

ภาพวาดแสดงหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นตัวอย่างของข้อต่อแบบกระดูกอ่อน

ข้อต่อในแบบนี้จะมีการเชื่อมติดกันโดยมีกระดูกอ่อนคั่นอยู่ตรงกลาง เนื่องจากกระดูกอ่อนมีความยืดหยุ่น จึงทำให้ข้อต่อในลักษณะนี้มีการเคลื่อนไหวได้มากกว่าข้อต่อแบบเส้นใย แต่น้อยกว่าข้อต่อแบบซินโนเวียล ข้อต่อแบบกระดูกอ่อนสามารถจำแนกออกได้เป็นสองแบบ ตามลักษณะของกระดูกอ่อน คือ

ข้อต่อแบบซินโนเวียล (Synovial joint)

โครงสร้างพื้นฐานของข้อต่อแบบซินโนเวียล

ข้อต่อแบบซินโนเวียลจะไม่ได้มีการเชื่อมติดต่อกันของกระดูกโดยตรง แต่จะมีโครงสร้างที่เรียกว่า แคปซูลข้อต่อ (articular capsule) เป็นตัวกลาง และภายในแคปซูลข้อต่อนี้จะเป็นโพรงข้อต่อ (articular space) ซึ่งจะมีของเหลวคือ ซินโนเวียล ฟลูอิด (synovial fluid) ที่สร้างจากเนื้อเยื่อโดยรอบแคปซูลข้อต่อ ช่วยในการเคลื่อนไหวของข้อต่อ ข้อต่อในแบบซินโนเวียลนี้จึงเป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก และพบได้ในเกือบทุกข้อต่อของทั้งรยางค์บนและรยางค์ล่าง

ข้อต่อจัดจำแนกตามคุณสมบัติในการเคลื่อนไหว

ข้อต่อยังสามารถจำแนกได้ตามลักษณะและระดับของในการเคลื่อนไหว ซึ่งโดยทั่วไปก็จะสอดคล้องกับลักษณะทางโครงสร้างของข้อต่อนั้นๆ โดยสามารถจำแนกได้เป็นสามแบบ คือข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (Synarthrosis) ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้น้อย (Amphiarthrosis) และข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก (Diarthrosis)

ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (Synarthrosis) และข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้น้อย (Amphiarthrosis)

ข้อต่อในทั้งสองแบบนี้มักมีการเชื่อมต่อกันโดยตรง หรือมีกระดูกอ่อนเป็นตัวเชื่อม จึงทำให้การเคลื่อนไหวจำกัดอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ข้อต่อในลักษณะนี้จะมีความเสถียรสูง โดยส่วนใหญ่ข้อต่อที่มีการเคลื่อนไหวที่จำกัดนี้จะเป็นข้อต่อแบบเส้นใย หรือเป็นข้อต่อแบบกระดูกอ่อน

ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก (Diarthrosis)

ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ 1. แบบเบ้า 2. แบบวงรี 3. แบบอานม้า 4. แบบบานพับ 5. แบบเดือย
ภาพวาดแสดงข้อต่อสะโพก ซึ่งเป็นข้อต่อแบบเบ้าที่ชัดเจน

ข้อต่อในลักษณะนี้มักจะเป็นข้อต่อแบบซินโนเวียล และมีการเคลื่อนไหวได้ทั้งในสองมิติและสามมิติ ข้อต่อในกลุ่มนี้ยังสามารถแบ่งออกได้ตามรูปร่างลักษณะของข้อต่อเป็น 6 แบบ ได้แก่

อ้างอิง

  • Marieb, E.N. (1998). Human Anatomy & Physiology, 4th ed. Menlo Park, California: Benjamin/Cummings Science Publishing.
  • Netter, Frank H. (1987) , Musculoskeletal system: anatomy, physiology, and metabolic disorders, Summit, New Jersey: Ciba-Geigy Corporation.
  • Tortora, G. J. (1989) , Principles of Human Anatomy, 5th ed. New York: Harper & Row, Publishers.