ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


'''ราชการ''' (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ'''รัฐการ''' (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี
'''ราชการ''' (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ'''รัฐการ''' (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี


== ข้าราชการ ==


'''ข้าราชการ''' หรือ'''ข้ารัฐการ''' คือ บุคคลซึ่งทำงานอยู่ภายในระบบราชการหรือรัฐการแล้วแต่กรณี ส่วนองค์กรที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติงานอยู่นั้นเรียก '''"ส่วนราชการ"''' หรือ '''"ส่วนรัฐการ'''
'''ข้าราชการ''' หรือ'''ข้ารัฐการ''' คือ บุคคลซึ่งทำงานอยู่ภายในระบบราชการหรือรัฐการแล้วแต่กรณี ส่วนองค์กรที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติงานอยู่นั้นเรียก '''"ส่วนราชการ"''' หรือ '''"ส่วนรัฐการ'''


=== ชนิดของข้าราชการ ===
* ข้าราชการพลเรือน มี 2 ประภท คือ 1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ 2. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์
* ข้าราชการครู
* ข้าราชการตำรวจ
* ข้าราชการทหาร


"ระบบราชการ" เป็นระบบการทำงานหลักของแต่ละประเทศ ควบคู่ไปกับ "ระบบ[[เอกชน]]" และ "[[รัฐวิสาหกิจ]]" ข้าราชการ มีหลายประเภท เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการการเมือง ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพนักงานราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งมีลักษณะการทำงานที่คล้ายคลึงกันกับข้าราชการ
"ระบบราชการ" เป็นระบบการทำงานหลักของแต่ละประเทศ ควบคู่ไปกับ "ระบบ[[เอกชน]]" และ "[[รัฐวิสาหกิจ]]" ข้าราชการ มีหลายประเภท เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการการเมือง ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพนักงานราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งมีลักษณะการทำงานที่คล้ายคลึงกันกับข้าราชการ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:00, 24 มกราคม 2553

บทความนี้มีชื่อเรียกสองอย่างตามระบบการปกครองเฉพาะถิ่นซึ่งอธิบายไว้ตอนต้นแล้ว แต่จะเรียกเฉพาะชื่ออันเป็นที่เข้าใจในประเทศไทยชื่อเดียว

ราชการ (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือรัฐการ (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี


ข้าราชการ

ข้าราชการ หรือข้ารัฐการ คือ บุคคลซึ่งทำงานอยู่ภายในระบบราชการหรือรัฐการแล้วแต่กรณี ส่วนองค์กรที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติงานอยู่นั้นเรียก "ส่วนราชการ" หรือ "ส่วนรัฐการ


ชนิดของข้าราชการ

  • ข้าราชการพลเรือน มี 2 ประภท คือ 1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ 2. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์
  • ข้าราชการครู
  • ข้าราชการตำรวจ
  • ข้าราชการทหาร

"ระบบราชการ" เป็นระบบการทำงานหลักของแต่ละประเทศ ควบคู่ไปกับ "ระบบเอกชน" และ "รัฐวิสาหกิจ" ข้าราชการ มีหลายประเภท เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการการเมือง ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพนักงานราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งมีลักษณะการทำงานที่คล้ายคลึงกันกับข้าราชการ

ราชการของไทย

ไฟล์:Emblem thailand garuda4.png
ตราพระครุฑพ่าห์ สำหรับใช้เป็นตราหัวหนังสือราชการไทย (แบบที่นิยมใช้กันมาก)

ราชการในประเทศไทยมีสัญลักษณ์ในเอกสารเป็นรูป "ครุฑ" (ครุฑพ่าห์) เป็นสัญลักษณ์หมายถึงพระราชบัลลังก์ และตราประจำแผ่นดินของไทย ใช้ประทับบนหัวจดหมายราชการ การบริหารราชการขึ้นอยู่แต่ละส่วนราชการ ภายใต้พระราชบัญญัติบริหารส่วนราชการแต่ละส่วน เช่น พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน มีระเบียบบริหารราชการ อัตราเงินเดือนค่าจ้างค่าตอบแทนเป็นบัญชีต่างๆกันไป อีกทั้งมีการกำหนดเกณฑ์การเลื่อนลำดับชั้น งานหนังสือและสารบรรณ การเกษียณอายุ การเชิดชูเกียรติ เช่น การติดยศ การรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ที่เฉพาะต่างกันไป งบประมาณ ที่ใช้ในระบบราชการ ส่วนหนึ่งมาจากงบประมาณแผ่นดินซึ่งนำจากการเก็บภาษีจากประชาชนทั่วประเทศ