ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองภาษีเจริญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tonx (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Pasicharoean canal.jpg|thumb|300px|คลองภาษีเจริญ]]
[[ไฟล์:Pasicharoean canal.jpg|thumb|300px|คลองภาษีเจริญ]]
'''คลองภาษีเจริญ''' เริ่มต้นที่บริเวณปาก[[คลองบางกอกใหญ่]]และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อม[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่[[ตำบลดอนไก่ดี]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศาลบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี [[พ.ศ. 2415]]<ref>[http://dds.bangkok.go.th/Csd/canal_h14.htm "คลองอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี"]คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงรัตนโกสินทร์ </ref> ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - 2429 และ 2445 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]]<ref>[http://203.155.220.217/dotat/periodical_3_4_2547/p14-15.htm"สำนักการจราจรและขนส่ง "]พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ
'''คลองภาษีเจริญ''' เริ่มต้นที่บริเวณปาก[[คลองบางกอกใหญ่]]และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อม[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่[[ตำบลดอนไก่ดี]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี [[พ.ศ. 2415]]<ref>[http://dds.bangkok.go.th/Csd/canal_h14.htm "คลองอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี"]คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงรัตนโกสินทร์ </ref> ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - 2429 และ 2445 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]]<ref>[http://203.155.220.217/dotat/periodical_3_4_2547/p14-15.htm"สำนักการจราจรและขนส่ง "]พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ
</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[ เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]<ref>[http://www.samutsakhon.go.th/data/data_1/data_28.htm "ทรัพยากรน้ำในจังหวัดสมุทรสาคร"]</ref>
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[ เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]<ref>[http://www.samutsakhon.go.th/data/data_1/data_28.htm "ทรัพยากรน้ำในจังหวัดสมุทรสาคร"]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:33, 22 มกราคม 2553

ไฟล์:Pasicharoean canal.jpg
คลองภาษีเจริญ

คลองภาษีเจริญ เริ่มต้นที่บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อมแม่น้ำท่าจีนที่ตำบลดอนไก่ดี จังหวัดสมุทรสาคร รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี พ.ศ. 2415[1] ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - 2429 และ 2445 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม[2] มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ในเขตภาษีเจริญ และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้านแม่น้ำท่าจีน คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขตเขตภาษีเจริญ เขตบางแค และเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร และอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร[3]

อ้างอิง

  1. "คลองอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี"คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงรัตนโกสินทร์
  2. "สำนักการจราจรและขนส่ง "พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ
  3. "ทรัพยากรน้ำในจังหวัดสมุทรสาคร"