ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกราช เก่งทุกทาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
คุยคุ้ยข่าว
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
เอกราชได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้บรรยายการแข่งขันฟุตบอลที่มีความสามารถมากที่สุดคนหนึ่งในปัจจุบัน จนได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้พากษ์ในนัดชิงชนะเลิศ[[ฟุตบอลโลก 2002]] ที่[[ญี่ปุ่น]]-[[เกาหลีใต้]] และ นัดชิงชนะเลิศ[[ฟุตบอลโลก 2006]] ที่[[เยอรมนี]] เป็นต้น ในปี [[พ.ศ. 2546]] ได้รับการชักชวนจาก[[สรยุทธ สุทัศนะจินดา]] เป็น[[พิธีกร]]ร่วม ใน[[รายการโทรทัศน์]] ''[[เรื่องเล่าเช้านี้]]'' ทาง[[ไทยทีวีสีช่อง 3]] ในส่วนของข่าวกีฬา และข่าวต่างประเทศ และเป็นคนแรกที่เปิดเผยออกอากาศว่า ชื่อเดิมของ [[ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์]] คือ ''ไทรทอง หุ่นศาสตร์''
เอกราชได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้บรรยายการแข่งขันฟุตบอลที่มีความสามารถมากที่สุดคนหนึ่งในปัจจุบัน จนได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้พากษ์ในนัดชิงชนะเลิศ[[ฟุตบอลโลก 2002]] ที่[[ญี่ปุ่น]]-[[เกาหลีใต้]] และ นัดชิงชนะเลิศ[[ฟุตบอลโลก 2006]] ที่[[เยอรมนี]] เป็นต้น ในปี [[พ.ศ. 2546]] ได้รับการชักชวนจาก[[สรยุทธ สุทัศนะจินดา]] เป็น[[พิธีกร]]ร่วม ใน[[รายการโทรทัศน์]] ''[[เรื่องเล่าเช้านี้]]'' ทาง[[ไทยทีวีสีช่อง 3]] ในส่วนของข่าวกีฬา และข่าวต่างประเทศ และเป็นคนแรกที่เปิดเผยออกอากาศว่า ชื่อเดิมของ [[ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์]] คือ ''ไทรทอง หุ่นศาสตร์''


นอกจากนี้ ในช่วง[[แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547|เหตุการณ์คลื่นสึนามิถล่มภาคใต้]] เมื่อวันที่ [[26 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2547]] ซึ่งเป็นข่าวต่อเนื่อง เอกราชเข้าช่วยสรยุทธ ดำเนินรายการในห้องส่งด้วย อนึ่ง เอกราชเคยมีบทบาทการแสดงใน[[ภาพยนตร์ไทย]]เรื่อง ''[[ดรีมทีม]]'' เมื่อปี [[พ.ศ. 2551]] โดยรับบทเป็นพ่อของตัวละครเด็กในเรื่อง นอกจากเรื่องกีฬาแล้ว เอกราชยังเคยเป็น[[บรรณาธิการ]][[นิตยสาร]][[เอฟเอชเอ็ม (ประเทศไทย)]]มาก่อน
นอกจากนี้ ช่วงก่อนที่รายการ[[คุยคุ้ยข่าว]]สุดสัปดาห์จะปิดตัวลง (ราวปลายปี [[พ.ศ. 2549]]; สลับกับ [[ณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์]]) และในการรายงานข่าว[[แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547|เหตุการณ์คลื่นสึนามิถล่มภาคใต้]] เมื่อวันที่ [[26 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2547]] เอกราชเข้าช่วยสรยุทธดำเนินรายการ ที่ห้องส่ง[[สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์]]ด้วย อนึ่ง เอกราชเคยมีบทบาทการแสดงใน[[ภาพยนตร์ไทย]]เรื่อง ''[[ดรีมทีม]]'' เมื่อปี [[พ.ศ. 2551]] โดยรับบทเป็นพ่อของตัวละครเด็กในเรื่อง นอกจากเรื่องกีฬาแล้ว เอกราชยังเคยเป็น[[บรรณาธิการ]][[นิตยสาร]][[เอฟเอชเอ็ม (ประเทศไทย)]] มาก่อน


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:59, 7 มกราคม 2553

ไฟล์:Ekarat.jpg
เอกราช เก่งทุกทาง

นายเอกราช เก่งทุกทาง (ชื่อเล่น: หนุ่ย) ผู้บรรยายกีฬาทางทรูวิชั่นส์ และคอลัมนิสต์เกี่ยวกับฟุตบอล ในหนังสือพิมพ์หลายฉบับ

ประวัติ

เอกราช เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2509 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เอกราชชื่นชอบกีฬา โดยเฉพาะฟุตบอล มาตั้งแต่ยังเด็ก และเริ่มทำงานด้านสื่อมวลชนสายกีฬา ตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษา โดยฝึกงานกับ บริษัท สยามสปอร์ตซินดิเคท จำกัด

จากนั้นจึงเริ่มงาน จากการเป็นคอมเมนเตเตอร์ หรือผู้ให้ทัศนะเสริม ในการบรรยายกีฬาชนิดต่างๆ แต่ที่ทำได้ดีที่สุดคือฟุตบอล ปัจจุบัน นอกจากการเป็นผู้บรรยายกีฬาทางทรูวิชั่นส์แล้ว ยังเป็นคอลัมนิสต์ประจำหน้ากีฬา หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน และเคยเป็นคอลัมนิสต์ของเครือสยามสปอร์ต โดยใช้นามปากกาว่า ขุนไข่ อีกด้วย

เอกราชได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้บรรยายการแข่งขันฟุตบอลที่มีความสามารถมากที่สุดคนหนึ่งในปัจจุบัน จนได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้พากษ์ในนัดชิงชนะเลิศฟุตบอลโลก 2002 ที่ญี่ปุ่น-เกาหลีใต้ และ นัดชิงชนะเลิศฟุตบอลโลก 2006 ที่เยอรมนี เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับการชักชวนจากสรยุทธ สุทัศนะจินดา เป็นพิธีกรร่วม ในรายการโทรทัศน์ เรื่องเล่าเช้านี้ ทางไทยทีวีสีช่อง 3 ในส่วนของข่าวกีฬา และข่าวต่างประเทศ และเป็นคนแรกที่เปิดเผยออกอากาศว่า ชื่อเดิมของ ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์ คือ ไทรทอง หุ่นศาสตร์

นอกจากนี้ ช่วงก่อนที่รายการคุยคุ้ยข่าวสุดสัปดาห์จะปิดตัวลง (ราวปลายปี พ.ศ. 2549; สลับกับ ณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์) และในการรายงานข่าวเหตุการณ์คลื่นสึนามิถล่มภาคใต้ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เอกราชเข้าช่วยสรยุทธดำเนินรายการ ที่ห้องส่งสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ด้วย อนึ่ง เอกราชเคยมีบทบาทการแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ดรีมทีม เมื่อปี พ.ศ. 2551 โดยรับบทเป็นพ่อของตัวละครเด็กในเรื่อง นอกจากเรื่องกีฬาแล้ว เอกราชยังเคยเป็นบรรณาธิการนิตยสารเอฟเอชเอ็ม (ประเทศไทย) มาก่อน

อ้างอิง