ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วังเทวะเวสม์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
วังเทวะเวศม์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น วังเทวะเวสม์
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
{{วิกิประเทศไทย}}
[[ภาพ:วังเทวะเวสม์.jpg|thumb|250px|ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์]]
[[ภาพ:วังเทวะเวสม์.jpg|thumb|250px|ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์]]
'''วังเทวะเวศม์''' เป็นวังที่[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงสร้างพระราชทาน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] เมื่อ พ.ศ. 2457 บนที่ดิน 24 ไร่ 3 งาน 78 ตารางวา ริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ทางทิศเหนือของ[[วังบางขุนพรหม]] ทางทิศใต้ของ[[วังปากคลอง]] บน[[ถนนสามเสน]] ที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานให้
'''วังเทวะเวสม์''' เป็นวังที่[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงสร้างพระราชทาน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] เมื่อ พ.ศ. 2457 บนที่ดิน 24 ไร่ 3 งาน 78 ตารางวา ริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ทางทิศเหนือของ[[วังบางขุนพรหม]] ทางทิศใต้ของ[[วังปากคลอง]] บน[[ถนนสามเสน]] ที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานให้


ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวศม์ ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างโดย เอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์ สถาปนิกชาวอังกฤษ ลักษณะเป็นอาคารแบบยุโรป 3 ชั้น หันหน้าไปทางแม่น้ำเจ้าพระยา ศิลปะแบบนีโอคลาสสิค ประกอบด้วยเสาอิโอนิก (Ionic) ที่มุขทางเข้าตำหนัก และเสาแบบคอรินเธียน (Corinthian) ที่ผนังอาคารชั้นบน ซึ่งออกแบบโดย การก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2461
ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์ ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างโดย เอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์ สถาปนิกชาวอังกฤษ ลักษณะเป็นอาคารแบบยุโรป 3 ชั้น หันหน้าไปทางแม่น้ำเจ้าพระยา ศิลปะแบบนีโอคลาสสิค ประกอบด้วยเสาอิโอนิก (Ionic) ที่มุขทางเข้าตำหนัก และเสาแบบคอรินเธียน (Corinthian) ที่ผนังอาคารชั้นบน ซึ่งออกแบบโดย การก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2461


อาคารย่อย ประกอบด้วยตึก 7 หลัง ออกแบบโดยเอมิลโย โจวันนี กอลโล (E.G. Gollo) สถาปนิกชาวอิตาเลียน ผู้ดูแลการก่อสร้าง[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]
อาคารย่อย ประกอบด้วยตึก 7 หลัง ออกแบบโดยเอมิลโย โจวันนี กอลโล (E.G. Gollo) สถาปนิกชาวอิตาเลียน ผู้ดูแลการก่อสร้าง[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
*ตึกหม่อมจันทร์
*ตึกหม่อมจันทร์
*ตำหนักพระโอรสพระธิดา ประสูติแต่หม่อมพุก
*ตำหนักพระโอรสพระธิดา ประสูติแต่หม่อมพุก
*ตำหนักหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ - (ปัจจุบันขายให้ [[บัณฑูร ล่ำซำ|นายบัณฑูร ล่ำซำ]] ซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานตาของหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ ไปสร้างใหม่ที่ "บ้านสามญาณ" ใกล้[[วัดญาณสังวราราม]] ตั้งชื่อว่า '''เรือนเทวะเวศม์''' )
*ตำหนักหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ - (ปัจจุบันขายให้ [[บัณฑูร ล่ำซำ|นายบัณฑูร ล่ำซำ]] ซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานตาของหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ ไปสร้างใหม่ที่ "บ้านสามญาณ" ใกล้[[วัดญาณสังวราราม]] ตั้งชื่อว่า '''เรือนเทวะเวสม์''' )
*เรือนแพ
*เรือนแพ
ปัจจุบัน อาคารทั้ง 7 หลัง คงเหลือเพียง 2 หลัง คือ ตึกหม่อมลม้าย ตึกหม่อมปุ่น และเรือนแพ
ปัจจุบัน อาคารทั้ง 7 หลัง คงเหลือเพียง 2 หลัง คือ ตึกหม่อมลม้าย ตึกหม่อมปุ่น และเรือนแพ


หลังจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2466 [[กระทรวงสาธารณสุข]]ได้ซื้อวังเทวะเวสม์จากทายาท และได้ใช้เป็นที่ตั้งกระทรวงตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เมื่อหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขมากขึ้นและคับแคบ ประกอบกับ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]ซึ่งอยู่ที่[[วังบางขุนพรหม]]ติดกันทางทิศใต้ ต้องการขยับขยาย จึงได้มีการเจรจาแลกพื้นที่กัน โดยธนาคารแห่งประเทศไทยได้ซื้อที่ดิน 400 ไร่ ในจังหวัดนนทบุรี พร้อมทั้งสร้างอาคารให้ แลกกับการเข้าไปเป็นเจ้าของพื้นที่ทั้งหมดของวังเทวะเวสม์
หลังจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2466 [[กระทรวงสาธารณสุข]]ได้ซื้อวังเทวะเวสม์จากทายาท และได้ใช้เป็นที่ตั้งกระทรวงตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เมื่อหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขมากขึ้นและคับแคบ ประกอบกับ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]ซึ่งอยู่ที่[[วังบางขุนพรหม]]ติดกันทางทิศใต้ ต้องการขยับขยาย จึงได้มีการเจรจาแลกพื้นที่กัน โดยธนาคารแห่งประเทศไทยได้ซื้อที่ดิน 400 ไร่ ในจังหวัดนนทบุรี พร้อมทั้งสร้างอาคารให้ แลกกับการเข้าไปเป็นเจ้าของพื้นที่ทั้งหมดของวังเทวะเวสม์ เมื่อ พ.ศ. 2530


ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมโบราณสถานในวังเทวะเวสม์ตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ได้บูรณะเรือนแพ และตำหนักใหญ่ แล้วเสร็จ เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ มีห้องแสดงพระประวัติของบุคคลสำคัญ และห้องแสดงวิธีอนุรักษ์โบราณสถานวังบางขุนพรหมและวังเทวะเวสม์ในเชิงวิชาการด้านสถาปัตยกรรม [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]ทรงพระกรุณา เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดวังเทวะเวสม์ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547
ปัจจุบันธนาคารแห่งประเทศไทยได้บูรณะซ่อมแซมวังเทวะเวสม์แล้วเสร็จ และเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:32, 4 กันยายน 2549

วังเทวะเวสม์ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ วังเทวะเวสม์ หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์

วังเทวะเวสม์ เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างพระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อ พ.ศ. 2457 บนที่ดิน 24 ไร่ 3 งาน 78 ตารางวา ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของวังบางขุนพรหม ทางทิศใต้ของวังปากคลอง บนถนนสามเสน ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้

ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์ ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างโดย เอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์ สถาปนิกชาวอังกฤษ ลักษณะเป็นอาคารแบบยุโรป 3 ชั้น หันหน้าไปทางแม่น้ำเจ้าพระยา ศิลปะแบบนีโอคลาสสิค ประกอบด้วยเสาอิโอนิก (Ionic) ที่มุขทางเข้าตำหนัก และเสาแบบคอรินเธียน (Corinthian) ที่ผนังอาคารชั้นบน ซึ่งออกแบบโดย การก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2461

อาคารย่อย ประกอบด้วยตึก 7 หลัง ออกแบบโดยเอมิลโย โจวันนี กอลโล (E.G. Gollo) สถาปนิกชาวอิตาเลียน ผู้ดูแลการก่อสร้างพระที่นั่งอนันตสมาคม

  • ตึกหม่อมพุก
  • ตึกหม่อมลม้าย
  • ตึกหม่อมปุ่น - (ปัจจุบัน ยังเป็นที่พำนักของทายาทราชสกุลเทวกุล)
  • ตึกหม่อมจันทร์
  • ตำหนักพระโอรสพระธิดา ประสูติแต่หม่อมพุก
  • ตำหนักหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ - (ปัจจุบันขายให้ นายบัณฑูร ล่ำซำ ซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานตาของหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ ไปสร้างใหม่ที่ "บ้านสามญาณ" ใกล้วัดญาณสังวราราม ตั้งชื่อว่า เรือนเทวะเวสม์ )
  • เรือนแพ

ปัจจุบัน อาคารทั้ง 7 หลัง คงเหลือเพียง 2 หลัง คือ ตึกหม่อมลม้าย ตึกหม่อมปุ่น และเรือนแพ

หลังจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2466 กระทรวงสาธารณสุขได้ซื้อวังเทวะเวสม์จากทายาท และได้ใช้เป็นที่ตั้งกระทรวงตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เมื่อหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขมากขึ้นและคับแคบ ประกอบกับธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งอยู่ที่วังบางขุนพรหมติดกันทางทิศใต้ ต้องการขยับขยาย จึงได้มีการเจรจาแลกพื้นที่กัน โดยธนาคารแห่งประเทศไทยได้ซื้อที่ดิน 400 ไร่ ในจังหวัดนนทบุรี พร้อมทั้งสร้างอาคารให้ แลกกับการเข้าไปเป็นเจ้าของพื้นที่ทั้งหมดของวังเทวะเวสม์ เมื่อ พ.ศ. 2530

ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมโบราณสถานในวังเทวะเวสม์ตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ได้บูรณะเรือนแพ และตำหนักใหญ่ แล้วเสร็จ เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ มีห้องแสดงพระประวัติของบุคคลสำคัญ และห้องแสดงวิธีอนุรักษ์โบราณสถานวังบางขุนพรหมและวังเทวะเวสม์ในเชิงวิชาการด้านสถาปัตยกรรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณา เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดวังเทวะเวสม์ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547

อ้างอิง

ลิงก์ภายนอก