ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารรัตนสิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


== การจำหน่ายกิจการ ==
== การจำหน่ายกิจการ ==
กระทรวงการคลัง จำหน่ายกิจการธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2542]] โดยคณะกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกผู้ร่วมลงทุนในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งมีผู้ว่าการ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]] เป็นประธานกรรมการ ได้พิจารณาคัดเลือกธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ เป็นผู้ร่วมลงทุน ในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้ขายหุ้นธนาคารรัตนสินฯ จำนวน 1,484,998 ล้านหุ้น ให้แก่ธนาคารยูไนเต็ดฯ ในราคา 15,089,524,030 บาท <ref>[http://www.soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=6646&pdate=2000/09/05&pno=1&pagegroup=1 การจำหน่ายกิจการธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน)]</ref> และเปลี่ยนชื่อเป็น "[[ธนาคารยูโอบีรัตนสิน]]"
กระทรวงการคลัง จำหน่ายกิจการธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2542]] โดยคณะกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกผู้ร่วมลงทุนในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งมีผู้ว่าการ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]] เป็นประธานกรรมการ ได้พิจารณาคัดเลือกธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ เป็นผู้ร่วมลงทุน ในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้ขายหุ้นธนาคารรัตนสินฯ จำนวน 1,484,998 ล้านหุ้น ให้แก่ธนาคารยูไนเต็ดฯ ในราคา 15,089,524,030 บาท <ref>[http://www.soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=6646&pdate=2000/09/05&pno=1&pagegroup=1 การจำหน่ายกิจการธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน)]</ref> และเปลี่ยนชื่อเป็น "[[ธนาคารยูโอบีรัตนสิน]]" และต่อมาในปี พ.ศ. 2548 ได้ควบรวมกับ[[ธนาคารเอเชีย]] กลายเป็น[[ธนาคารยูโอบี]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:26, 5 พฤศจิกายน 2552

ธนาคารรัตนสิน เป็นธนาคารของรัฐบาล ก่อตั้งขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 [1] แต่เนื่องจากธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) ไม่มีเครือข่ายสาขารองรับการบริหารงานเพียงพอ จึงมีการควบรวมกิจการธนาคารแหลมทอง กับธนาคารรัตนสิน เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541[2]

การจำหน่ายกิจการ

กระทรวงการคลัง จำหน่ายกิจการธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 โดยคณะกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกผู้ร่วมลงทุนในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งมีผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นประธานกรรมการ ได้พิจารณาคัดเลือกธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ เป็นผู้ร่วมลงทุน ในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้ขายหุ้นธนาคารรัตนสินฯ จำนวน 1,484,998 ล้านหุ้น ให้แก่ธนาคารยูไนเต็ดฯ ในราคา 15,089,524,030 บาท [3] และเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารยูโอบีรัตนสิน" และต่อมาในปี พ.ศ. 2548 ได้ควบรวมกับธนาคารเอเชีย กลายเป็นธนาคารยูโอบี

อ้างอิง

ก่อนหน้า ธนาคารรัตนสิน ถัดไป

แม่แบบ:กล่องสืบตำแหน่ง