ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
กล่องข้อมูล
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล อิสริยาภรณ์
| ชื่อไทย = เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์
| ชื่อในภาษาแม่ =
| ภาพ = [[ภาพ:ตรารัตนวราภรณ์.jpg|200px]]<br /><small>เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์<br />ฝ่ายหน้า (ซ้าย) และฝ่ายใน (ขวา)</small>
| อักษรย่อ =
| ประเทศ = {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]]
| วันสถาปนา = [[พ.ศ. 2454]] (ฝ่ายหน้า), [[พ.ศ. 2465]] (ฝ่ายใน)
| ผู้สถาปนา =[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| ล้มเลิก =
| ประเภท = ดวงตราห้อยแพรแถบ (ฝ่ายหน้า), สายสร้อยพร้อมดวงตรา (ฝ่ายใน)
| สถานะ =
| ประธาน = พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย
| ผู้สมควรได้รับ = ข้าราชการ (พระราชทานตามอัธยาศัย)
| ความชอบ = เชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา
| จำนวนสำรับ =
| รายแรก =
| รายล่าสุด =
| ทั้งหมด =
| ได้รับหลังถึงแก่กรรม =
| สูงกว่า = [[เเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]]
| เสมอ =
| รองมา = [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี]]
| หมายเหตุ = เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดนี้ปัจจุบันพ้นสมัยการพระราชทานแล้ว
}}
'''เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์''' ({{lang-en|The Ratana Varabhorn order of Merit}}) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็น[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย|เครื่องราชอิสริยาภรณ์]]อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ สถาปนาขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2454]] เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมา ในปี [[พ.ศ. 2465]] พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภร์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วย<ref name="พรบ">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/A/185.PDF พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๑๘๕ </ref><ref name="ฝ่ายใน">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/A/302.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เพิ่มเติมข้อความในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๙, ตอน ๐ ก, ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๕, หน้า ๓๐๒ </ref> เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 5 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/029/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย], เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖, หน้า ๑ </ref> ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว
'''เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์''' ({{lang-en|The Ratana Varabhorn order of Merit}}) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็น[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย|เครื่องราชอิสริยาภรณ์]]อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ สถาปนาขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2454]] เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมา ในปี [[พ.ศ. 2465]] พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภร์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วย<ref name="พรบ">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/A/185.PDF พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๑๘๕ </ref><ref name="ฝ่ายใน">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/A/302.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เพิ่มเติมข้อความในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๙, ตอน ๐ ก, ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๕, หน้า ๓๐๒ </ref> เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 5 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/029/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย], เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖, หน้า ๑ </ref> ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว


== ลักษณะของตรารัตนวราภรณ์ ==
== ลักษณะของตรารัตนวราภรณ์ ==
=== ฝ่ายหน้า ===
=== ฝ่ายหน้า ===

[[ไฟล์:ตรารัตนวราภรณ์.jpg|thumb|220px|เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์]]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายหน้า กลางดวงตราเป็นรูปวงกลม กรอบประดับเพชร ขนาด 2.5 เซนติเมตร มีอักษร[[พระบรมนามาภิไธย]]ย่อ "ร.ร." กับเลข "๖" ประดับ[[เพชร]] หมายความว่า [[สมเด็จพระรามราชาธิบดีที่ 6]] อยู่ภายในวงกลมบนพื้นลงยาสีขาบที่กรอบวงกลมทั้ง 4 ทิศ เป็นรูปพระวชิราวุธ มีรูปพระแสงศรกำลังรามทำด้วยทองไขว้ คันศรยื่นออกในระหว่างพระวชิราวุธทั้ง 4 ทิศ และมีรูปคมศรเพชรแทรกระหว่างพระวชิราวุธกับพระแสงศรกำลังราม 8 แสก เบื้องบนมี[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]]ประดับเพชร ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) ร้อยด้วยแพรแถบสีเหลืองขอบดำริมเหลือง กว้าง 3 เซนติเมตร ใช้สำหรับคล้องคอ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/A/245.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ กระแสพระบรมราชโองการแก้ไขพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๑, หน้า ๒๔๕ </ref>
เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายหน้า กลางดวงตราเป็นรูปวงกลม กรอบประดับเพชร ขนาด 2.5 เซนติเมตร มีอักษร[[พระบรมนามาภิไธย]]ย่อ "ร.ร." กับเลข "๖" ประดับ[[เพชร]] หมายความว่า [[สมเด็จพระรามราชาธิบดีที่ 6]] อยู่ภายในวงกลมบนพื้นลงยาสีขาบที่กรอบวงกลมทั้ง 4 ทิศ เป็นรูปพระวชิราวุธ มีรูปพระแสงศรกำลังรามทำด้วยทองไขว้ คันศรยื่นออกในระหว่างพระวชิราวุธทั้ง 4 ทิศ และมีรูปคมศรเพชรแทรกระหว่างพระวชิราวุธกับพระแสงศรกำลังราม 8 แสก เบื้องบนมี[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]]ประดับเพชร ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) ร้อยด้วยแพรแถบสีเหลืองขอบดำริมเหลือง กว้าง 3 เซนติเมตร ใช้สำหรับคล้องคอ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/A/245.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ กระแสพระบรมราชโองการแก้ไขพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๑, หน้า ๒๔๕ </ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:26, 27 ตุลาคม 2552

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์
ฝ่ายหน้า (ซ้าย) และฝ่ายใน (ขวา)
ประเภทดวงตราห้อยแพรแถบ (ฝ่ายหน้า), สายสร้อยพร้อมดวงตรา (ฝ่ายใน)
วันสถาปนาพ.ศ. 2454 (ฝ่ายหน้า), พ.ศ. 2465 (ฝ่ายใน)
ประเทศไทย ประเทศไทย
ผู้สมควรได้รับข้าราชการ (พระราชทานตามอัธยาศัย)
มอบเพื่อเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา
ผู้สถาปนาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ประธานพระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย
ลำดับเกียรติ
สูงกว่าเเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
รองมาเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี
หมายเหตุเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดนี้ปัจจุบันพ้นสมัยการพระราชทานแล้ว

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (อังกฤษ: The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมา ในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภร์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วย[1][2] เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 5 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[3] ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว

ลักษณะของตรารัตนวราภรณ์

ฝ่ายหน้า

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายหน้า กลางดวงตราเป็นรูปวงกลม กรอบประดับเพชร ขนาด 2.5 เซนติเมตร มีอักษรพระบรมนามาภิไธยย่อ "ร.ร." กับเลข "๖" ประดับเพชร หมายความว่า สมเด็จพระรามราชาธิบดีที่ 6 อยู่ภายในวงกลมบนพื้นลงยาสีขาบที่กรอบวงกลมทั้ง 4 ทิศ เป็นรูปพระวชิราวุธ มีรูปพระแสงศรกำลังรามทำด้วยทองไขว้ คันศรยื่นออกในระหว่างพระวชิราวุธทั้ง 4 ทิศ และมีรูปคมศรเพชรแทรกระหว่างพระวชิราวุธกับพระแสงศรกำลังราม 8 แสก เบื้องบนมีพระมหาพิชัยมงกุฎประดับเพชร ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) ร้อยด้วยแพรแถบสีเหลืองขอบดำริมเหลือง กว้าง 3 เซนติเมตร ใช้สำหรับคล้องคอ[4]

ฝ่ายใน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายในนั้น ดวงตรามีเรือนทองกลมขนาด 3 เซนติเมตร ขอบประดับเพชร พื้นกลางลงยาสีขาบ มีอักษรพระนามาภิไธยย่อ ร.ร.๖ ประดับเพชร มีห่วงเป็นรูปพระมหาพิชัยมงกุฎขนาด 2 เซนติเมตร ประดับเพชร ข้างขอบเป็นรูปนาคสลับกับเพชราวุธ 4 มุม ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรจุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) เหนือพระมหาพิชัยมงกุฎมีอุณาโลมประดับเพชรและห่วงห้อยดวงตรา กับมีสังวาลย์อักษรพระบรมนามาภิไธยย่อ ราม.ร.๖ ทองลงยา ขั้นสลับกับพระมหาพิชัยมงกุฎ[2]

การพระราชทาน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะทรงพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ตามพระราชประสงค์ แต่จะพระราชทานสำหรับข้าราชการและประพฤติตนเป็นที่ต้องพระราชอัธยาศัย โดยห้ามมิให้ผู้ใดกราบบังคมทูลขอพระราชทานเพื่อตนเองหรือกราบบังคมทูลแนะนำเพื่อพระราชทานแก่ผู้อื่นเป็นอันขาด

ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ จะได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรกำกับไว้ด้วย โดยถ้าผู้ได้รับพระราชทานเสียชีวิตลง สามารถมอบตรารัตนวราภรณ์ให้แก่ผู้รับมรดกเพื่อไว้เป็นเครื่องสักการะบูชาต่อไป โดยไม่ต้องส่งคืน แต่จะไม่สามารถประดับตรานี้ได้[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรารัตนวราภรณ์, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๑๘๕
  2. 2.0 2.1 ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เพิ่มเติมข้อความในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตรารัตนวราภรณ์, เล่ม ๓๙, ตอน ๐ ก, ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๕, หน้า ๓๐๒
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย, เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖, หน้า ๑
  4. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ กระแสพระบรมราชโองการแก้ไขพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๑, หน้า ๒๔๕

แหล่งข้อมูลอื่น