ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวเนรา 3"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่:ยานอวกาศ; ลบป้ายต้องการหมวดหมู่ออก ด้วยสจห.
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์<!-- near the terminator, probably around -20° to 20° N, 60° to 80° E--> อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก
ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์<!-- near the terminator, probably around -20° to 20° N, 60° to 80° E--> อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก


{{เรียงลำดับ|วแนรา 3}}
[[en:Venera 3]]
[[หมวดหมู่:ยานอวกาศ]]
[[หมวดหมู่:ยานอวกาศ]]
{{โครง}}
{{โครง}}


[[en:Venera 3]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:27, 23 ตุลาคม 2552

เวเนรา 3 (รัสเซีย: Венера-3) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดยสหภาพโซเวียต เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 จาก Baikonur คาซัคสถาน

ภารกิจของยานอวกาศนี้เพื่อลงจอดบนพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยลำตัวมีระบบวิทยุสื่อสาร เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ แหล่งพลังงานไฟฟ้าและมีตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต

ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์ อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก