ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลบส่วนประวัติละเมิดจาก http://www.holy.ac.th/holy/history.htm
Suthummo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:


'''โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด''' ({{lang-en|The Holy Infant Jesus Roi-Et School}})(อักษรย่อ: พก., PK) เป็นโรงเรียนเอกชน แบ่งเป็น 3 แผนก คือแผนกอนุบาล แผนกประถม แผนกมัธยม ตั้งอยู่เลขที่ 218 ถนนรอบเมือง ตำบลรอบเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ร้อยเอ็ดเขต ๑ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ตั้งอยู่บริเวณชานเมืองร้อยเอ็ด อยู่สองฝั่งถนนเลี่ยงเมือง มีสะพานลอยเชื่อมต่อสองฝั่ง
'''โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด''' ({{lang-en|The Holy Infant Jesus Roi-Et School}})(อักษรย่อ: พก., PK) เป็นโรงเรียนเอกชน แบ่งเป็น 3 แผนก คือแผนกอนุบาล แผนกประถม แผนกมัธยม ตั้งอยู่เลขที่ 218 ถนนรอบเมือง ตำบลรอบเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ร้อยเอ็ดเขต ๑ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ตั้งอยู่บริเวณชานเมืองร้อยเอ็ด อยู่สองฝั่งถนนเลี่ยงเมือง มีสะพานลอยเชื่อมต่อสองฝั่ง

==ทำเนียบผู้บริหาร==

รายนามผู้บริหารโรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ดนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

{| class="wikitable"
|-
! style="background:#66ccff;text-align: center;"|อันดับ
! style="background:#66ccff;text-align: center;"|รายนาม
! style="background:#66ccff;text-align: center;"|วาระดำรงตำแหน่ง(พ.ศ.)
! style="background:#66ccff;text-align: center;"|ตำแหน่ง
|-
| style="text-align: center;"|1
| [[ภาพ:Phaisan Jaidee.gif]]บาทหลวงไพศาล ใจดี
| style="text-align: center;"|พ.ศ.2529
| style="text-align: center;"|ผู้รับใบอนุญาติ
|-
| style="text-align: center;"|2
| [[ภาพ:Termsak Chalernbun.gif]]บาทหลวงเติมศักดิ์ เจริญบุญ
| style="text-align: center;"|2529-2537
| style="text-align: center;"|ผู้จัดการ
|-
| style="text-align: center;"|3
| [[ภาพ:Bunlers Phromsaena.gif]]บาทหลวงบุญเลิศ พรหมเสนา
| style="text-align: center;"|2472 - 2475<br>2538-2545
| style="text-align: center;"|ผู้จัดการ
|-
| style="text-align: center;"|4
| [[ภาพ:Samrong Khumsri.gif]]บาทหลวงสำรอง คำศรี
| style="text-align: center;"|พ.ศ.2546-ปัจจุบัน
| style="text-align: center;"|ผู้จัดการ
|-
| style="text-align: center;"|5
| บาทหลวงวีรเดช ศิลาโคตร
| style="text-align: center;"|พ.ศ.2551-ปัจจุบัน
| style="text-align: center;"|ผู้ช่วยผู้จัดการ
|-
|}


==สัญลักษณ์ของโรงเรียน==
==สัญลักษณ์ของโรงเรียน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:50, 12 ตุลาคม 2552

โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด
The Holy Infant Jesus Roi-Et School
ตราสัญลักษณ์โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด
ที่ตั้ง
แผนที่
218 ถ.รอบเมือง ต.รอบเมือง จ,ร้อยเอ็ด ไทย ประเทศไทย 45000
ข้อมูล
ชื่ออื่นพก, PK
ประเภทโรงเรียนเอกชน
คำขวัญวินัยดี มีคุณธรรม นำปัญญา พัฒนาชีวิต
สถาปนา16 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
ผู้ก่อตั้งบาทหลวงไพศาล ใจดี
ผู้อำนวยการบาทหลวงสำรอง คำศรี
สีสี ฟ้า ขาว
เพลงมาร์ชพระกุมาร
เว็บไซต์holy.ac.th


โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด (อังกฤษ: The Holy Infant Jesus Roi-Et School)(อักษรย่อ: พก., PK) เป็นโรงเรียนเอกชน แบ่งเป็น 3 แผนก คือแผนกอนุบาล แผนกประถม แผนกมัธยม ตั้งอยู่เลขที่ 218 ถนนรอบเมือง ตำบลรอบเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ร้อยเอ็ดเขต ๑ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ตั้งอยู่บริเวณชานเมืองร้อยเอ็ด อยู่สองฝั่งถนนเลี่ยงเมือง มีสะพานลอยเชื่อมต่อสองฝั่ง

ทำเนียบผู้บริหาร

รายนามผู้บริหารโรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ดนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

อันดับ รายนาม วาระดำรงตำแหน่ง(พ.ศ.) ตำแหน่ง
1 ไฟล์:Phaisan Jaidee.gifบาทหลวงไพศาล ใจดี พ.ศ.2529 ผู้รับใบอนุญาติ
2 ไฟล์:Termsak Chalernbun.gifบาทหลวงเติมศักดิ์ เจริญบุญ 2529-2537 ผู้จัดการ
3 ไฟล์:Bunlers Phromsaena.gifบาทหลวงบุญเลิศ พรหมเสนา 2472 - 2475
2538-2545
ผู้จัดการ
4 ไฟล์:Samrong Khumsri.gifบาทหลวงสำรอง คำศรี พ.ศ.2546-ปัจจุบัน ผู้จัดการ
5 บาทหลวงวีรเดช ศิลาโคตร พ.ศ.2551-ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้จัดการ

สัญลักษณ์ของโรงเรียน

สัญลักษณ์ของโรงเรียนคืออนุสาวรีย์ครอบครัวศักดิ์สิทธิ์เป็นรูปเคารพทางศาสนา ของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาธอลิก ประกอบด้วรูปเคารพของพระกุมารเยซู(พระเยซูในขณะยังเยาว์วัย)นักบุญโยเซฟ และพระแม่มารีย์ ซึ่งมีความหมายดังนี้ พระกุมาร คือ องค์อุปถัมภ์ของโรงเรียน ทรงได้รับการอบรมเลี้ยงดูเอาใจใส่ จากบิดา คือนักบุญโยเซฟ และมารดาคือ พระแม่มารีย์ (แม่พระ)โรงเรียนได้ยึดถือเป็นแบบเฉพาะในด้านการใหการอบรม อันเป็นพื้นฐานแรกของชีวิตมนุษย์ ซึ่งถือว่าครอบครัวเป็นโรงเรียนแห่งแรกสมดังคติที่ว่า "ครอบครัวดี สังคมดี"และเพื่อให้สอดคล้องกับสัญลักษณ์ของโรงเรียนดังนี้ จึงกำหนดตราและความหมายของตราดรงเรียนพระกุมารไว้ดังนี้ [1]

ตราโรงเรียน

ตราโรงเรียนเป็นรูปเทียนส่องแสงบนหนังสือที่เปิดอยู่ภายในวงกลม มีความหมายตรงกับปรัชญาของโรงเรียนดังนี้

  • วงกลม คือ ความเป็นผู้มีวินัย
  • เทียนจุด คือ คุณธรรม
  • หนังสือ คือ ปัญญาดี
  • แสงเทียน คือ ชีวิตต้องมีการพัฒนาอย่เสมอจึงจะก้าวหน้า[1]

ปรัชญาโรงเรียน

วินัยดี มีคุณธรรม นำปัญญา พัฒนาชีวิต

คำขวัญ

ศาสนธรรม นำการศึกษา พัฒนาชีวิต [1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด, คู่มือปฐมนิเทศผู้ปกครองนักเรียนใหม่(ระดับมัธยมศึกษา)ประจำปีการศึกษา 2548,2548, หน้า 4