ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดเสาธงทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ตั้งอยู่ติดถนนฝรั่งเศส (Rule de France) ใกล้ตลาดเทศบาลเมืองลพบุรี ด้านหลังใกล้กับท่าขุนนางริมแม่น้ำลพบุรี ทิศเหนือ ใกล้กับ[[บ้านหลวงรับราชทูต]] ทิศใต้ใกล้กับ[[วังนารายณ์ราชนิเวศน์]]
ตั้งอยู่ติดถนนฝรั่งเศส (Rule de France) ใกล้ตลาดเทศบาลเมืองลพบุรี ด้านหลังใกล้กับท่าขุนนางริมแม่น้ำลพบุรี ทิศเหนือ ใกล้กับ[[บ้านหลวงรับราชทูต]] ทิศใต้ใกล้กับ[[วังนารายณ์ราชนิเวศน์]]


วัดเสาธงทอง
== ประวัติ ==
'''วัดเสาธงทอง'''เป็นวัดเก่าแก่ เดิมแยกเป็น 2 วัด คือ วัดลวก และวัดเสาธงทอง ต่อมาพระยาโบราณราชธานินทร์ ได้กล่าวว่าวัดลวก มีโบสถ์ วัดเสาธงทองมีวิหาร สมควรที่รวมเป็นวัดเดียวกัน ต่อมาจึงได้'''รวมกันเป็นวัดเสาธงทอง''' ที่น่าสนใจคือ วิหารเดิมสร้างไว้ตามแผนของชาว[[ฝรั่งเศส]]ว่าสร้างไว้เพื่อใช้เป็นศาสนสถานของศาสนาอื่น และยังเป็นที่พักของราชทูตชาวเปอร์เซียก็เป็นได้ อาจจะมีการทำพิธีกรรมเกี่ยวกับ[[ศาสนาอิสลาม]] และยังมีตึกปิจู หรือปิจู้ ตึกคชสาร หรือโคระส่าน สันนิษฐานว่าเป็นที่พักของแขกชาว[[เปอร์เซีย]]
ตั้งอยู่บนถนนฝรั่งเศส ซึ่งตัดเชื่อมระหว่างพระราชวังนารายณ์ฯ กับบ้านหลวงรับราชทูตเป็นวัดเก่าแก่ เดิมแยกเป็น 2 วัด คือ วัดรวก และวัดเสาธงทอง พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เตชะคุปต์)สมุหเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา ได้รายงานกราบทูลเสนอความเห็นต่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมื่อคราวเสด็จตรวจการคณะสงฆ์ในมณฑลอยุธยาว่า วัดรวกมีโบสถ์ วัดเสาธง มีวิหารสมควรจะรวมเป็นวัดเดียวกัน ทรงดำริเห็นชอบให้รวมกันและให้เรียกชื่อว่า วัดเสาธงทอง


วัดนี้มีโบราณสถานที่ควรชม คือ พระวิหารซึ่งเดิมคงสร้างขึ้นเพื่อเป็นศาสนสถานของศาสนาอื่นเพราะจากแผนที่ของช่างชาวฝรั่งเศสทำไว้ ระบุว่าพื้นที่บริเวณนั้นเป็นที่พำนักของชาวเปอร์เซีย พระวิหารหลังนี้อาจเป็นที่ประกอบพิธีทางศาสนาอิสลามของชาวเปอร์เซียก็เป็นได้ นอกจากนั้นก็มีตึกปิจู ตึกคชสารหรือตึกโคระส่าน เป็นตึกเก่าสันนิษฐานว่าใช้เป็นที่พำนักของแขกเมือง และราชทูตต่างประเทศชาวเปอร์เซีย
[[หมวดหมู่:วัดในจังหวัดลพบุรี|ส]]

{{โครงสถานที่}}
ที่ตั้ง
ตั้งอยู่ติดถนนฝรั่งเศส (Rule de France) ใกล้ตลาดเทศบาลเมืองลพบุรี ด้านหลังใกล้กับท่าขุนนางริมแม่น้ำลพบุรี ทิศเหนือ ใกล้กับบ้านหลวงรับราชทูต ทิศใต้ใกล้กับวังนารายณ์ราชนิเวศน์

ประวัติ
วัดเสาธงทองเป็นวัดเก่าแก่ เดิมแยกเป็น 2 วัด คือ วัดลวก และวัดเสาธงทอง ต่อมาพระยาโบราณราชธานินทร์ ได้กล่าวว่าวัดลวก มีโบสถ์ วัดเสาธงทองมีวิหาร สมควรที่รวมเป็นวัดเดียวกัน ต่อมาจึงได้รวมกันเป็นวัดเสาธงทอง ที่น่าสนใจคือ วิหารเดิมสร้างไว้ตามแผนของชาวฝรั่งเศสว่าสร้างไว้เพื่อใช้เป็นศาสนสถานของศาสนาอื่น และยังเป็นที่พักของราชทูตชาวเปอร์เซียก็เป็นได้ อาจจะมีการทำพิธีกรรมเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม และยังมีตึกปิจู หรือปิจู้ ตึกคชสาร หรือโคระส่าน สันนิษฐานว่าเป็นที่พักของแขกชาวเปอร์เซีย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:46, 21 กันยายน 2552

วัดเสาธงทอง เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี

ที่ตั้ง

ตั้งอยู่ติดถนนฝรั่งเศส (Rule de France) ใกล้ตลาดเทศบาลเมืองลพบุรี ด้านหลังใกล้กับท่าขุนนางริมแม่น้ำลพบุรี ทิศเหนือ ใกล้กับบ้านหลวงรับราชทูต ทิศใต้ใกล้กับวังนารายณ์ราชนิเวศน์

วัดเสาธงทอง

ตั้งอยู่บนถนนฝรั่งเศส ซึ่งตัดเชื่อมระหว่างพระราชวังนารายณ์ฯ กับบ้านหลวงรับราชทูตเป็นวัดเก่าแก่ เดิมแยกเป็น 2 วัด คือ วัดรวก และวัดเสาธงทอง พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เตชะคุปต์)สมุหเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา ได้รายงานกราบทูลเสนอความเห็นต่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมื่อคราวเสด็จตรวจการคณะสงฆ์ในมณฑลอยุธยาว่า วัดรวกมีโบสถ์ วัดเสาธง มีวิหารสมควรจะรวมเป็นวัดเดียวกัน ทรงดำริเห็นชอบให้รวมกันและให้เรียกชื่อว่า วัดเสาธงทอง

วัดนี้มีโบราณสถานที่ควรชม คือ พระวิหารซึ่งเดิมคงสร้างขึ้นเพื่อเป็นศาสนสถานของศาสนาอื่นเพราะจากแผนที่ของช่างชาวฝรั่งเศสทำไว้ ระบุว่าพื้นที่บริเวณนั้นเป็นที่พำนักของชาวเปอร์เซีย พระวิหารหลังนี้อาจเป็นที่ประกอบพิธีทางศาสนาอิสลามของชาวเปอร์เซียก็เป็นได้ นอกจากนั้นก็มีตึกปิจู ตึกคชสารหรือตึกโคระส่าน เป็นตึกเก่าสันนิษฐานว่าใช้เป็นที่พำนักของแขกเมือง และราชทูตต่างประเทศชาวเปอร์เซีย

ที่ตั้ง ตั้งอยู่ติดถนนฝรั่งเศส (Rule de France) ใกล้ตลาดเทศบาลเมืองลพบุรี ด้านหลังใกล้กับท่าขุนนางริมแม่น้ำลพบุรี ทิศเหนือ ใกล้กับบ้านหลวงรับราชทูต ทิศใต้ใกล้กับวังนารายณ์ราชนิเวศน์

ประวัติ วัดเสาธงทองเป็นวัดเก่าแก่ เดิมแยกเป็น 2 วัด คือ วัดลวก และวัดเสาธงทอง ต่อมาพระยาโบราณราชธานินทร์ ได้กล่าวว่าวัดลวก มีโบสถ์ วัดเสาธงทองมีวิหาร สมควรที่รวมเป็นวัดเดียวกัน ต่อมาจึงได้รวมกันเป็นวัดเสาธงทอง ที่น่าสนใจคือ วิหารเดิมสร้างไว้ตามแผนของชาวฝรั่งเศสว่าสร้างไว้เพื่อใช้เป็นศาสนสถานของศาสนาอื่น และยังเป็นที่พักของราชทูตชาวเปอร์เซียก็เป็นได้ อาจจะมีการทำพิธีกรรมเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม และยังมีตึกปิจู หรือปิจู้ ตึกคชสาร หรือโคระส่าน สันนิษฐานว่าเป็นที่พักของแขกชาวเปอร์เซีย