ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MelancholieBot (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ba:Гелиоцентризм; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
* Ajram, K. (1992). Miracle of Islamic Science, Appendix B. Knowledge House Publishers. ISBN 0911119434.
* Ajram, K. (1992). Miracle of Islamic Science, Appendix B. Knowledge House Publishers. ISBN 0-911119-43-4.


[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์]]
บรรทัด 11: บรรทัด 11:


[[az:Heliosentrik sistemi]]
[[az:Heliosentrik sistemi]]
[[ba:Гелиоцентризм]]
[[bg:Хелиоцентрична система]]
[[bg:Хелиоцентрична система]]
[[bn:সূর্যকেন্দ্রিকতাবাদ]]
[[bn:সূর্যকেন্দ্রিকতাবাদ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:36, 11 กันยายน 2552

ระบบสุริยะซึ่งมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง

ในทางดาราศาสตร์ แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล เป็นทฤษฎีที่ว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Heliocentrism มีที่มาจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า ήλιος Helios = ดวงอาทิตย์ และ κέντρον kentron = ศูนย์กลาง แนวคิดนี้เป็นแนวคิดตรงกันข้ามกับแนวคิดโลกเป็นศูนย์กลางจักรวาล เริ่มขึ้นตั้งแต่ 300 ปีก่อนคริสตกาล นักคิดคนแรกคือชาวกรีกชื่อ Aristarchus แห่ง Samos ได้ริเริ่มแนวคิดที่ว่า โลกเดินทางไปรอบๆ ดวงอาทิตย์ที่อยู่นิ่ง แต่เวลาล่วงเลยไปจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวโปแลนด์ชื่อ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส จึงได้นำเสนอแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่แสดงว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีหลักฐานการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอ กาลิเลอีช่วยสนับสนุน

อ้างอิง

  • Ajram, K. (1992). Miracle of Islamic Science, Appendix B. Knowledge House Publishers. ISBN 0-911119-43-4.