ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=คฤหาสน์มาเนอร์ |เปลี่ยน...
 
Amirobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: an, ar, ca, cs, cy, da, eo, et, fa, gl, hr, hu, it, lb, nn, no, pl, sh, simple, sl, sr, tr, uk แก้ไข: de, en, es, fr, he, ja, nl, pt, ro, ru, sv, zh
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}


[[de:Grundherrschaft]]
[[an:Señoría]]
[[en:Manorialism]]
[[ar:قنانة]]
[[es:Señorío]]
[[ca:Serf]]
[[fr:Seigneurie]]
[[cs:Nevolnictví]]
[[cy:Taeog]]
[[he:מנוריאליזם]]
[[nl:Heerlijkheid]]
[[da:Livegenskab]]
[[ja:荘園]]
[[de:Leibeigenschaft]]
[[pt:Senhorialismo]]
[[en:Serfdom]]
[[ro:Sistemul senioral]]
[[eo:Servuteco]]
[[ru:Манор]]
[[es:Siervo]]
[[et:Pärisorjus]]
[[fa:رعیت‌داری]]
[[fi:Maaorjuus]]
[[fi:Maaorjuus]]
[[sv:Jordägande]]
[[fr:Servage]]
[[zh:庄园]]
[[gl:Servidume]]
[[he:צמיתות]]
[[hr:Kmetstvo]]
[[hu:Jobbágy]]
[[it:Servitù della gleba]]
[[ja:農奴制]]
[[lb:Leifeegeschaft]]
[[nl:Horigheid]]
[[nn:Liveigenskap]]
[[no:Livegenskap]]
[[pl:Pańszczyzna]]
[[pt:Servidão]]
[[ro:Iobăgie]]
[[ru:Крепостное право]]
[[sh:Kmetstvo]]
[[simple:Serfdom]]
[[sl:Tlačanstvo]]
[[sr:Кметство]]
[[sv:Livegenskap]]
[[tr:Serf]]
[[uk:Кріпосне право]]
[[zh:農奴制]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:27, 22 สิงหาคม 2552

งานสิบสองเดือนของเกษตรกร (คริสต์ศตวรรษที่ 15)

ระบบมาเนอร์ หรือ สังคมศักดินา (อังกฤษ: Manorialism หรือ Seigneurialism หรือ Feudal Society[1]) คือระบบเศรษฐกิจและสังคมที่นิยมปฏิบัติกันโดยทั่วไปในยุคกลางในยุโรปตะวันตกและยุโรปกลาง ระบบมาเนอร์เป็นระบบที่ผู้เป็นเจ้าของที่ดินหรือลอร์ดมีอำนาจทางเศรษฐกิจและทางกฎหมายที่สนับสนุนโดยรายได้ที่ได้มาจากผลผลิตของที่ดินที่เป็นเจ้าของ และจากค่าธรรมเนียมของเกษตรกรผู้ที่อยู่ภายใต้การปกครองตามกฎหมาย ค่าธรรมเนียมอาจจะเป็นในรูปของ:

  • แรงงาน (ภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า “corvée”),
  • ผลผลิต หรือ
  • เงิน (ไม่บ่อยนัก)

ทางตะวันออกของเยอรมนี ระบบนี้ใช้กันมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง

ระบบมาเนอร์เป็นคำที่เกี่ยวข้องกับยุคกลางของยุโรปตะวันตก ที่วิวัฒนาการมาจากระบบเศรษฐกิจชนบทของปลายสมัยจักรวรรดิโรมันโรมัน เมื่อจำนวนประชากรลดลงชนชั้นแรงงานกลายเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจ ในที่สุดก็จัดเป็นระบบมาเนอร์ หรือระบบนายไพร่ที่นายไม่จำเป็นต้องเป็นคฤหัสน์เสมอไปแต่อาจจะเป็นสังฆราช หรือ เจ้าอาวาส แต่ก็มีหน้าที่รับผิดชอบเช่นเดียวกับเจ้าของที่ดิน

อ้างอิง

  1. "Feudal Society", in its modern sense, was coined in Marc Bloch's 1939-40 books of the same name.

ดูเพิ่ม