ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวินัยปิฎก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พระไตรปิฎกเถรวาท}}
{{พุทธศาสนา}}
'''พระวินัยปิฎก''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]] : วินยปิฏก) ถือเป็นส่วนหนึ่งของ[[พระไตรปิฎก]] เป็นประมวลกฎข้อบังคับ เกี่ยวกับความประพฤติของเหล่า[[สงฆ์]] ทั้ง[[ภิกษุ]] และ[[ภิกษุณี]]
'''พระวินัยปิฎก''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]] : วินยปิฏก) ถือเป็นส่วนหนึ่งของ[[พระไตรปิฎก]] เป็นประมวลกฎข้อบังคับ เกี่ยวกับความประพฤติของเหล่า[[สงฆ์]] ทั้ง[[ภิกษุ]] และ[[ภิกษุณี]]


บรรทัด 14: บรรทัด 14:
# '''มหาวรรค''' แบ่งได้เป็น 10 หมวดย่อย หรือ 10 ขันธกะ กำเนิดภิกษุสงฆ์ และกิจการเกี่ยวแก่ภิกษุสงฆ์ ได้แก่ มหาขันธกะ, อุโบสถขันธกะ, วัสสูปนายิกาขันธกะ, ปวารณาขันธกะ, จัมมขันธกะ, เภสัชชขันธกะ, กฐินขันะกะ, จีวรขันธกะ, จัมเปยยขันธกะ และโกสัมพิขันธกะ
# '''มหาวรรค''' แบ่งได้เป็น 10 หมวดย่อย หรือ 10 ขันธกะ กำเนิดภิกษุสงฆ์ และกิจการเกี่ยวแก่ภิกษุสงฆ์ ได้แก่ มหาขันธกะ, อุโบสถขันธกะ, วัสสูปนายิกาขันธกะ, ปวารณาขันธกะ, จัมมขันธกะ, เภสัชชขันธกะ, กฐินขันะกะ, จีวรขันธกะ, จัมเปยยขันธกะ และโกสัมพิขันธกะ
# '''จุลวรรค''' แบ่งเป็น 12 หมวดย่อย หรือ 12 ขันธกะ เกี่ยวกับระเบียบความเป็นอยู่ของภิกษุ ภิกษุณี และเรื่องสังคายนา ได้แก่ กรรมขันธกะ, ปริวาสิกขันธกะ, สมุจจยขันธกะ, สมถขันธกะ, ขุททกวัตถุขันธกะ, เสนาสนขันธกะ, สังฆเภทขันธกะ, วัตตขันธกะ, ปาฏิโมกขัฏฐปนขันธกะ, ภิกขุนีขันธกะ, ปัญจสติกขันธกะ และสัตตสติกขันธกะ
# '''จุลวรรค''' แบ่งเป็น 12 หมวดย่อย หรือ 12 ขันธกะ เกี่ยวกับระเบียบความเป็นอยู่ของภิกษุ ภิกษุณี และเรื่องสังคายนา ได้แก่ กรรมขันธกะ, ปริวาสิกขันธกะ, สมุจจยขันธกะ, สมถขันธกะ, ขุททกวัตถุขันธกะ, เสนาสนขันธกะ, สังฆเภทขันธกะ, วัตตขันธกะ, ปาฏิโมกขัฏฐปนขันธกะ, ภิกขุนีขันธกะ, ปัญจสติกขันธกะ และสัตตสติกขันธกะ
# '''ปริวาร''' เป็นข้อปลีกย่อยต่างๆ และคู่มือถามตอบซักซ้อมเกี่ยวกับพระวินัย
# '''ปริวาร''' เป็นข้อปลีกย่อยต่างๆ และคู่มือถามตอบซักซ้อมเกี่ยวกับพระวินัย
== ดูเพิ่ม ==
* [[พระสุตตันตปิฎก]] พระไตรปิฎกส่วนว่าด้วยพระสูตร
* [[พระอภิธรรมปิฎก]] พระไตรปิฎกส่วนว่าด้วยปรมัตถ์


{{วิกิซอร์ซ|พระไตรปิฎก}}
{{วิกิซอร์ซ|พระไตรปิฎก}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:13, 10 กรกฎาคม 2552

คัมภีร์หลักในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎกเถรวาท
๔๕ เล่ม

    พระวินัยปิฎก    
   
                                       
คัมภีร์
สุตตวิภังค์
คัมภีร์
ขันธกะ
คัมภีร์
ปริวาร
               
   
    พระสุตตันตปิฎก    
   
                                                      
คัมภีร์
ทีฆนิกาย
คัมภีร์
มัชฌิมนิกาย
คัมภีร์
สังยุตตนิกาย
                     
   
   
                                                                     
คัมภีร์
อังคุตตรนิกาย
คัมภีร์
ขุททกนิกาย
                           
   
    พระอภิธรรมปิฎก    
   
                                                           
สงฺ วิภงฺ ธา
ปุ.
กถา ยมก ปัฏฐานปกรณ์
                       
   
         

พระวินัยปิฎก (บาลี : วินยปิฏก) ถือเป็นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฎก เป็นประมวลกฎข้อบังคับ เกี่ยวกับความประพฤติของเหล่าสงฆ์ ทั้งภิกษุ และภิกษุณี

ทว่า พระวินัยปิฎกนั้นมิได้มีแต่กฎข้อบังคับเท่านั้น หากยังมีเนื้อหาสะท้อนประวัติศาสตร์ของอินเดียในสมัยพุทธกาลด้วย รวมทั้ง ขนบธรรมเนียม ประเพณี และประวัติของบุคคลสำคัญบางคนในยุคนั้น เช่น ชีวกโกมารภัจจ์

เดิมนั้น พระวินัยปิฎกแบ่งได้เป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ ได้แก่

  • ภาค 1 สุตตวิภังค์
  • ภาค 2 ขันธกะ
  • ภาค 3 ปริวาร

ในภายหลังมีการแบ่งเป็น 5 ส่วน และถือเอาเป็นหลักในการจำแนกหมวดพระวินัยมาจนปัจจุบัน ดังนี้

  1. มหาวิภังค์ เนื้อหาเกี่ยวกับมูลเหตุแห่งการบัญญัติพระวินัย และข้อวินัยของพระสงฆ์ 220 ข้อ กับวิธีพิจารณาข้อพิพาทอีก 7 ข้อ รวมเป็น ศีล 227 ข้อ
  2. ภิกขุนีวิภังค์ กล่าวถึง วินัยของพระภิกษุณี ที่ไม่ซ้ำกับพระภิกษุ 130 (ภิกษุณีมีวินัย 311 ข้อ)
  3. มหาวรรค แบ่งได้เป็น 10 หมวดย่อย หรือ 10 ขันธกะ กำเนิดภิกษุสงฆ์ และกิจการเกี่ยวแก่ภิกษุสงฆ์ ได้แก่ มหาขันธกะ, อุโบสถขันธกะ, วัสสูปนายิกาขันธกะ, ปวารณาขันธกะ, จัมมขันธกะ, เภสัชชขันธกะ, กฐินขันะกะ, จีวรขันธกะ, จัมเปยยขันธกะ และโกสัมพิขันธกะ
  4. จุลวรรค แบ่งเป็น 12 หมวดย่อย หรือ 12 ขันธกะ เกี่ยวกับระเบียบความเป็นอยู่ของภิกษุ ภิกษุณี และเรื่องสังคายนา ได้แก่ กรรมขันธกะ, ปริวาสิกขันธกะ, สมุจจยขันธกะ, สมถขันธกะ, ขุททกวัตถุขันธกะ, เสนาสนขันธกะ, สังฆเภทขันธกะ, วัตตขันธกะ, ปาฏิโมกขัฏฐปนขันธกะ, ภิกขุนีขันธกะ, ปัญจสติกขันธกะ และสัตตสติกขันธกะ
  5. ปริวาร เป็นข้อปลีกย่อยต่างๆ และคู่มือถามตอบซักซ้อมเกี่ยวกับพระวินัย

ดูเพิ่ม