ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
|สถานที่เกิด= อัสเชอร์เลเบน [[จักรวรรดิเยอรมัน]]
|สถานที่เกิด= อัสเชอร์เลเบน [[จักรวรรดิเยอรมัน]]
|สถานที่ถึงแก่กรรม=[[ฮานโนเฟอร์]] [[โลว์เออร์แซกโซนี]] [[ประเทศเยอรมนี|สหพันธรัฐเยอรมนี]]
|สถานที่ถึงแก่กรรม=[[ฮานโนเฟอร์]] [[โลว์เออร์แซกโซนี]] [[ประเทศเยอรมนี|สหพันธรัฐเยอรมนี]]
|ฉายา= "อัศวินมืด"
|ฉายา= "อัศวินดำ"
|เหล่าทัพ=[[กองทัพบก]]
|เหล่าทัพ=[[กองทัพบก]]
|รับราชการทหาร= ค.ศ. 1892 - 1938<br>
|รับราชการทหาร= ค.ศ. 1892 - 1938<br>
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
|บัญชาการ=
|บัญชาการ=
|สงคราม=[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
|สงคราม=[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
|รางวัล=[[เครื่งอิสรยาภรณ์อัศวินชั้นกางเขนเหล็ก]]<br>
|รางวัล=[[เครื่องอิสริยาภรณ์อัศวินชั้นกางเขนเหล็ก]]<br>
[[กางเขนเหล็ก]]
[[กางเขนเหล็ก]]
|อาชีพอื่น=
|อาชีพอื่น=
}}
}}


'''คาร์ล รูดอล์ฟ เกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์''' ({{lang-de|Karl Rudolf Gerd von Rundstedt}}; [[12 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1875]] - [[24 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1953]]) เป็น[[จอมพล]]แห่งกองทัพเยอรมัน ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินมืด" (Black Knight)
'''คาร์ล รูดอล์ฟ เกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์''' ({{lang-de|Karl Rudolf Gerd von Rundstedt}}; [[12 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1875]] - [[24 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1953]]) เป็น[[จอมพล]]แห่งกองทัพเยอรมัน ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight)


== สงครามโลกครั้งที่สอง ==
== สงครามโลกครั้งที่สอง ==


เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น เขาถูกเรียกตัวกลับมารับรัฐการทหารอีกครั้งหนึ่ง เพื่อนำกองทัพกลุ่มใต้ระหว่างการรุกรานโปแลนด์ และในระหว่างการรบในฝรั่งเศส เขาได้บัญชาการ 7 กองพลแพนเซอร์ 3 กองพลยานยนต์ทหารราบ และ 35 กองพลทหารราบ
เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น เขาถูกเรียกตัวกลับมารับราชการทหารอีกครั้งหนึ่ง เพื่อนำกองทัพกลุ่มใต้ระหว่างการรุกรานโปแลนด์ และในระหว่างการรบในฝรั่งเศส เขาได้บัญชาการกองพลแพนเซอร์ 7 หน่วย กองพลยานยนต์ทหารราบ 3 หน่วย และกองพลทหารราบ 35 หน่วย


เกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจอมพลเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม [[ค.ศ. 1940]] และมีส่วนในการวางแผน[[ปฏิบัติการสิงโตทะเล]] เมื่อแผนการบุกดังกล่าวถูกเลื่อนเวลาออกไป เขาจึงเป็นผู้บัญชาการกองกำลังยึดครองและได้รับมอบหมายให้สร้างแนวป้องกันทางทะเลตามชายฝั่งของ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|เนเธอร์แลนด์]] [[ประเทศเบลเยี่ยม|เบลเยี่ยม]] และ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]
เกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจอมพลเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม [[ค.ศ. 1940]] และมีส่วนในการวางแผน[[ปฏิบัติการสิงโตทะเล]] เมื่อแผนการบุกดังกล่าวถูกเลื่อนเวลาออกไป เขาจึงเป็นผู้บัญชาการกองกำลังยึดครองและได้รับมอบหมายให้สร้างแนวป้องกันทางทะเลตามชายฝั่งของ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|เนเธอร์แลนด์]] [[ประเทศเบลเยี่ยม|เบลเยี่ยม]] และ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
{{ดูเพิ่มที่|ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
{{ดูเพิ่มที่|ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}


ระหว่างปฏิบัติการบาร์บารอสซา ตั้งแต่เดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 1941]] เขาได้รับมอบอำนาจบัญชาการกองทัพกลุ่มใต้ ซึ่งประกอบด้วย 52 กองพลทหารราบ และ 5 กองพลแพนเซอร์ บุกเข้าไปใน[[สหภาพโซเวียต]] เมื่อถึงเดือนกันยายน กองทัพกลุ่มใต้สามารถยึด[[เคียฟ]] ในปฏิบัติการโอบล้อมสองครั้ง ทำให้สตาลินจำเป็นต้องละทิ้งเมืองไว้ กองทัพเยอรมันอ้างว่าตนสามารถจับเชลยศึกชาวโซเวียตได้กว่า 665,000 นาย หลังจากนั้น จึงเป็นผู้บัญชาการการโจมตีคาร์คอฟและรอสตอฟในเวลาต่อมา เขามีความเห็นคัดค้านการเดินหน้ารุกรานสหภาพโซเวียตต่อไปในฤดูหนาวและแนะนำให้ฮิตเลอร์สั่งหยุดการโจมตีไว้ก่อน แต่ข้อเสนอของเขาไม่ได้รับความยินยอม
ระหว่างปฏิบัติการบาร์บารอสซา ตั้งแต่เดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 1941]] เขาได้รับมอบอำนาจบัญชาการกองทัพกลุ่มใต้ ซึ่งประกอบด้วยกองพลทหารราบ 52 หน่วย และกองพลแพนเซอร์ 5 หน่วย บุกเข้าไปใน[[สหภาพโซเวียต]] เมื่อถึงเดือนกันยายน กองทัพกลุ่มใต้สามารถยึด[[เคียฟ]] ในปฏิบัติการโอบล้อมสองครั้ง ทำให้สตาลินจำเป็นต้องละทิ้งเมืองไว้ กองทัพเยอรมันอ้างว่าตนสามารถจับเชลยศึกชาวโซเวียตได้กว่า 665,000 นาย หลังจากนั้น จึงเป็นผู้บัญชาการการโจมตีคาร์คอฟและรอสตอฟในเวลาต่อมา เขามีความเห็นคัดค้านการเดินหน้ารุกรานสหภาพโซเวียตต่อไปในฤดูหนาวและแนะนำให้ฮิตเลอร์สั่งหยุดการโจมตีไว้ก่อน แต่ข้อเสนอของเขาไม่ได้รับความเห็นชอบ


ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1941 เขาเกิดอาการ[[กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด]] แต่เขาปฏิเสธที่จะได้รับการรักษาพยาบาล และยืนยันที่จะบัญชาการรบต่อไป หลังจากตีได้รอสตอฟ เมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] แล้ว แต่กองทัพเยอรมันถูกตีโต้กลับมา เขาจึงสั่งการให้กองทัพบางส่วนล่าถอย ฮิตเลอร์โกรธมาก จึงสั่งให้นายพล[[วัลเทอร์ ฟอน ไรเชนนาว]] บัญชาการรบแทน
ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1941 เขาเกิดอาการ[[กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด]] แต่เขาปฏิเสธที่จะได้รับการรักษาพยาบาล และยืนยันที่จะบัญชาการรบต่อไป หลังจากตีได้รอสตอฟ เมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] แล้ว แต่กองทัพเยอรมันถูกตีโต้กลับมา เขาจึงสั่งการให้กองทัพบางส่วนล่าถอย ฮิตเลอร์โกรธมาก จึงสั่งให้นายพล[[วัลเทอร์ ฟอน ไรเชนนาว]] บัญชาการรบแทน
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
{{ดูเพิ่มที่|แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
{{ดูเพิ่มที่|แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}


ฮิตเลอร์เรียกตัวเกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์กลับเข้ารับหน้าที่ดังเดิมในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตก ในเดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1942]] แต่การทำงานของเขาล่าช้า จนกระทั่งถึงฤดูใบไม้ผลิ [[ค.ศ. 1943]] ก็ยังไม่มีการสร้างป้อมปราการตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกเลย เพียงแต่ผู้ใต้บังคับบัญชาของเขาได้เริ่มแสดงให้เห็นการก่อสร้าง
ฮิตเลอร์เรียกตัวเกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์กลับเข้ารับหน้าที่ดังเดิมในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตก ในเดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1942]] แต่การทำงานของเขาล่าช้า จนกระทั่งถึงฤดูใบไม้ผลิ [[ค.ศ. 1943]] ก็ยังแทบไม่มีการสร้างป้อมปราการใดตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกเลย จนเมื่อเออร์วิน รอมเมล ได้รับมอบหมายมาอยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา จึงค่อยได้เห็นความคืบหน้าการก่อสร้างบ้าง


ส่วนแผนการป้องกันทางทะเล เขาเห็นว่า ควรจะมีการจัดวางกำลังยานเกราะอยู่ในแนวหลัง เพื่อที่จะได้สั่งโจมตีพื้นที่ที่กองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกมา แต่จอมพลรอมเมลไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดดังกล่าว เขาเห็นว่า ควรจะจัดวางกำลังยานเกราะใกล้กับแนวชายฝั่ง โดยอยู่นอกวิถีของปืนใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร ส่วนทางด้านฟอน รุนด์ชเทดท์ถูกชักจูงให้เชื่อว่า การยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทางด้านตะวันตกของฝรั่งเศสจะไม่เกิดขึ้น และควรจะมีการวางกำลังยานเกราะเพียงเล็กน้อยไว้ที่นั้น ทำให้มีกองกำลังยานเกราะเพียงสองกองพลป้องกันเขต[[นอร์มองดี]] ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียมหาศาลเมื่อการโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรมาถึง
ส่วนแผนการป้องกันทางทะเล เขาเห็นว่า ควรจะมีการจัดวางกำลังยานเกราะอยู่ในแนวหลัง เพื่อที่จะได้สั่งโจมตีพื้นที่ที่กองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกมา แต่จอมพลรอมเมลไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดดังกล่าว เขาเห็นว่า ควรจะจัดวางกำลังยานเกราะใกล้กับแนวชายฝั่ง โดยอยู่นอกวิถีของปืนใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร ส่วนทางด้านฟอน รุนด์ชเทดท์ถูกชักจูงให้เชื่อว่า การยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทางด้านตะวันตกของฝรั่งเศสจะไม่เกิดขึ้น และควรจะมีการวางกำลังยานเกราะเพียงเล็กน้อยไว้ที่นั้น ทำให้มีกองกำลังยานเกราะเพียงสองกองพลป้องกันเขต[[นอร์มองดี]] ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียมหาศาลเมื่อการโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรมาถึง


หลังจาก[[การยกพลขึ้นบกในนอร์มองดี]] เมื่อเดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 1944]] เขาได้กระตุ้นให้ฮิตเลอร์เจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร แต่เมื่อเขาถูกปฏิเสธ ว่ากันว่า เขาได้ระเบิดออกมาว่า ''"สร้างสันติภาพ ไอ้โง่"'' ฮิตเลอร์ได้ปลดเขาออก และแทนที่โดยจอมพล[[กึนเธอร์ ฟอน คลุจ]]
หลังจาก[[การยกพลขึ้นบกในนอร์มองดี]] เมื่อเดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 1944]] เขาได้กระตุ้นให้ฮิตเลอร์เจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร แต่เมื่อเขาถูกปฏิเสธ ว่ากันว่า เขาได้ระเบิดออกมาว่า ''"สงบศึกซะ ไอ้โง่"'' ฮิตเลอร์ได้ปลดเขาออก และแทนที่โดยจอมพล[[กึนเธอร์ ฟอน คลุจ]]


กลางเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 เขาได้รับตำแหน่งในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตกอีกครั้งหนึ่ง เขาได้รวบรวมกองกำลังเพื่อต่อกรกับ[[ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน]]อย่างรวดเร็ว และได้รับชัยชนะ เขาถูกปลดออกจากกองบัญชาการอีกครั้งหนึ่งในเดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1945]] เนื่องจากเขาบอกกับเคย์เทลว่า ฮิตเลอร์ควรจะเจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร ดีกว่าสู้รบในสงครามอันสิ้นหวังนี้
กลางเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 เขาได้รับตำแหน่งในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตกอีกครั้งหนึ่ง เขาได้รวบรวมกองกำลังเพื่อต่อกรกับ[[ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน]]อย่างรวดเร็ว และได้รับชัยชนะ เขาถูกปลดออกจากกองบัญชาการอีกครั้งหนึ่งในเดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1945]] เนื่องจากเขาบอกกับเคย์เทลว่า ฮิตเลอร์ควรจะเจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร ดีกว่าสู้รบในสงครามอันสิ้นหวังนี้
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
* Schaulen, Fritjof (2005). ''Eichenlaubträger 1940 - 1945 Zeitgeschichte in Farbe III Radusch - Zwernemann'' (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 3-932381-22-X.
* Schaulen, Fritjof (2005). ''Eichenlaubträger 1940 - 1945 Zeitgeschichte in Farbe III Radusch - Zwernemann'' (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 3-932381-22-X.
* Ziemke, Earl, "Gerd Von Rundstedt" in ''Hitler's Generals'', ed. Correlli Barnet, New York: Grove Weidenfeld, 1989
* Ziemke, Earl, "Gerd Von Rundstedt" in ''Hitler's Generals'', ed. Correlli Barnet, New York: Grove Weidenfeld, 1989


{{เกิดปี|2418}}
{{ตายปี|2496}}


[[หมวดหมู่:ผู้นำการทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง]]
[[หมวดหมู่:ผู้นำการทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง]]
[[หมวดหมู่:อาชญากรสงครามชาวเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:อาชญากรสงครามชาวเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน]]
{{เกิดปี|2418}}
{{ตายปี|2496}}
{{โครงบุคคล}}
{{โครงบุคคล}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:20, 5 กรกฎาคม 2552

แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท
12 ธันวาคม ค.ศ. 187524 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953
ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1987-047-20, Gerd v. Rundstedt.jpg
คาร์ล รูดอล์ฟ เกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์
ฉายา/ราชทินนาม "อัศวินดำ"
เกิดที่ อัสเชอร์เลเบน จักรวรรดิเยอรมัน
อนิจกรรมที่ ฮานโนเฟอร์ โลว์เออร์แซกโซนี สหพันธรัฐเยอรมนี
เหล่าทัพ กองทัพบก
ปีปฏิบัติงาน ค.ศ. 1892 - 1938

ค.ศ. 1939 - 1945

ยศสูงสุด จอมพล
รับใช้ จักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1892-1918)

เยอรมนี สาธารณรัฐไวมาร์ (ค.ศ. 1918-1933)
นาซีเยอรมนี นาซีเยอรมนี (ค.ศ. 1933-1938; 1939-1945)

การยุทธ สงครามโลกครั้งที่สอง
บำเหน็จ เครื่องอิสริยาภรณ์อัศวินชั้นกางเขนเหล็ก

กางเขนเหล็ก

คาร์ล รูดอล์ฟ เกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์ (เยอรมัน: Karl Rudolf Gerd von Rundstedt; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1875 - 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953) เป็นจอมพลแห่งกองทัพเยอรมัน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight)

สงครามโลกครั้งที่สอง

เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น เขาถูกเรียกตัวกลับมารับราชการทหารอีกครั้งหนึ่ง เพื่อนำกองทัพกลุ่มใต้ระหว่างการรุกรานโปแลนด์ และในระหว่างการรบในฝรั่งเศส เขาได้บัญชาการกองพลแพนเซอร์ 7 หน่วย กองพลยานยนต์ทหารราบ 3 หน่วย และกองพลทหารราบ 35 หน่วย

เกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจอมพลเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1940 และมีส่วนในการวางแผนปฏิบัติการสิงโตทะเล เมื่อแผนการบุกดังกล่าวถูกเลื่อนเวลาออกไป เขาจึงเป็นผู้บัญชาการกองกำลังยึดครองและได้รับมอบหมายให้สร้างแนวป้องกันทางทะเลตามชายฝั่งของเนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศส

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ระหว่างปฏิบัติการบาร์บารอสซา ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1941 เขาได้รับมอบอำนาจบัญชาการกองทัพกลุ่มใต้ ซึ่งประกอบด้วยกองพลทหารราบ 52 หน่วย และกองพลแพนเซอร์ 5 หน่วย บุกเข้าไปในสหภาพโซเวียต เมื่อถึงเดือนกันยายน กองทัพกลุ่มใต้สามารถยึดเคียฟ ในปฏิบัติการโอบล้อมสองครั้ง ทำให้สตาลินจำเป็นต้องละทิ้งเมืองไว้ กองทัพเยอรมันอ้างว่าตนสามารถจับเชลยศึกชาวโซเวียตได้กว่า 665,000 นาย หลังจากนั้น จึงเป็นผู้บัญชาการการโจมตีคาร์คอฟและรอสตอฟในเวลาต่อมา เขามีความเห็นคัดค้านการเดินหน้ารุกรานสหภาพโซเวียตต่อไปในฤดูหนาวและแนะนำให้ฮิตเลอร์สั่งหยุดการโจมตีไว้ก่อน แต่ข้อเสนอของเขาไม่ได้รับความเห็นชอบ

ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1941 เขาเกิดอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด แต่เขาปฏิเสธที่จะได้รับการรักษาพยาบาล และยืนยันที่จะบัญชาการรบต่อไป หลังจากตีได้รอสตอฟ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน แล้ว แต่กองทัพเยอรมันถูกตีโต้กลับมา เขาจึงสั่งการให้กองทัพบางส่วนล่าถอย ฮิตเลอร์โกรธมาก จึงสั่งให้นายพลวัลเทอร์ ฟอน ไรเชนนาว บัญชาการรบแทน

แนวรบด้านตะวันตก

ฮิตเลอร์เรียกตัวเกอร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์กลับเข้ารับหน้าที่ดังเดิมในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตก ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1942 แต่การทำงานของเขาล่าช้า จนกระทั่งถึงฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1943 ก็ยังแทบไม่มีการสร้างป้อมปราการใดตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกเลย จนเมื่อเออร์วิน รอมเมล ได้รับมอบหมายมาอยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา จึงค่อยได้เห็นความคืบหน้าการก่อสร้างบ้าง

ส่วนแผนการป้องกันทางทะเล เขาเห็นว่า ควรจะมีการจัดวางกำลังยานเกราะอยู่ในแนวหลัง เพื่อที่จะได้สั่งโจมตีพื้นที่ที่กองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกมา แต่จอมพลรอมเมลไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดดังกล่าว เขาเห็นว่า ควรจะจัดวางกำลังยานเกราะใกล้กับแนวชายฝั่ง โดยอยู่นอกวิถีของปืนใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร ส่วนทางด้านฟอน รุนด์ชเทดท์ถูกชักจูงให้เชื่อว่า การยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทางด้านตะวันตกของฝรั่งเศสจะไม่เกิดขึ้น และควรจะมีการวางกำลังยานเกราะเพียงเล็กน้อยไว้ที่นั้น ทำให้มีกองกำลังยานเกราะเพียงสองกองพลป้องกันเขตนอร์มองดี ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียมหาศาลเมื่อการโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรมาถึง

หลังจากการยกพลขึ้นบกในนอร์มองดี เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944 เขาได้กระตุ้นให้ฮิตเลอร์เจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร แต่เมื่อเขาถูกปฏิเสธ ว่ากันว่า เขาได้ระเบิดออกมาว่า "สงบศึกซะ ไอ้โง่" ฮิตเลอร์ได้ปลดเขาออก และแทนที่โดยจอมพลกึนเธอร์ ฟอน คลุจ

กลางเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 เขาได้รับตำแหน่งในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตกอีกครั้งหนึ่ง เขาได้รวบรวมกองกำลังเพื่อต่อกรกับปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดนอย่างรวดเร็ว และได้รับชัยชนะ เขาถูกปลดออกจากกองบัญชาการอีกครั้งหนึ่งในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1945 เนื่องจากเขาบอกกับเคย์เทลว่า ฮิตเลอร์ควรจะเจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร ดีกว่าสู้รบในสงครามอันสิ้นหวังนี้

หลังสงคราม

ในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 เขาถูกจับกุมตัวโดยกองพลทหารราบที่ 36 แห่งสหรัฐอเมริกา ระหว่างการถูกควบคุมตัว เขาประสบกับภาวะหัวใจขาดเลือดอีกครั้งหนึ่ง และได้ถูกนำตัวไปพิจารณาคดีที่เกาะอังกฤษ รัฐบาลอังกฤษแจ้งข้อกล่าวหาเขาในฐานะอาชญากรสงคราม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสุขภาพอันย่ำแย่ของเขา เขาจึงถูกปล่อยตัวโดยไม่มีการพิจารณาคดีในปี ค.ศ. 1948 และอาศัยอยู่ในฮานโนเฟอร์ จนกระทั่งเสียชีวิต

อ้างอิง

  • Bungay, Stephen. The Most Dangerous Enemy: A History of the Battle of Britain. London: Aurum Press 2000. ISBN 1-85410-721-6(hardcover), ISBN 1-85410-801-8(paperback 2002).
  • Günther Blumentritt, Von Rundstedt: The Man and the Soldier, London: Odhams Press, 1952
  • B. H. Liddell Hart, The German Generals Talk, New York: William and Morrow, 1948, chap. 7
  • Charles Messenger, The Last Prussian: A Biography of Field Marshal Gerd von Rundstedt, 1875-1953, London: Brassey's, 1991 ISBN 0-08-036707-0
  • Schaulen, Fritjof (2005). Eichenlaubträger 1940 - 1945 Zeitgeschichte in Farbe III Radusch - Zwernemann (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 3-932381-22-X.
  • Ziemke, Earl, "Gerd Von Rundstedt" in Hitler's Generals, ed. Correlli Barnet, New York: Grove Weidenfeld, 1989