ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปางมารวิชัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:ปางมารวิชัย.jpg|thumb|200px|ลักษณะพระพุทธรูปปางมารวิชัย ([[พระพุทธชินราช (พิษณุโลก)|พระพุทธชินราช]] ปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัย)]]
[[ไฟล์:ปางมารวิชัย.jpg|thumb|200px|ลักษณะพระพุทธรูปปางมารวิชัย ([[พระพุทธชินราช (พิษณุโลก)|พระพุทธชินราช]] ปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัย)]]
'''ปางมารวิชัย''' เป็นชื่อเรียกของพระพุทธรูปลักษณะนั่งขัดสมาธิราบ (เหมือน[[ปางสมาธิ]]หรือปางตรัสรู้)หรือ ขัดสมาธิเพชร เหมือน[[ปางขัดสมาธิเพชร]] แต่[[พระหัตถ์]]เบื้องขวาคว่ำที่[[พระเพลา]] ปลายนิ้วพระหัตถ์ชี้ลงแผ่นดิน หมายถึงเรื่อง[[พระพุทธประวัติ]]เมื่อทรงอ้าง[[พระธรณี]]เป็นพยานแก่[[พระยามาร]] เครื่องประกอบมักทำเป็นรูป[[ยักษ์]][[มาร]] และ[[นางแม่พระธรณี]]บีบมวยผม
'''ปางมารวิชัย''' เป็นชื่อเรียกของพระพุทธรูปลักษณะนั่งขัดสมาธิราบ (เหมือน[[ปางสมาธิ]]หรือปางตรัสรู้) หรือ ขัดสมาธิเพชร เหมือน[[ปางขัดสมาธิเพชร]] แต่[[พระหัตถ์]]เบื้องขวาคว่ำที่[[พระเพลา]] ปลายนิ้วพระหัตถ์ชี้ลงแผ่นดิน หมายถึงเรื่อง[[พระพุทธประวัติ]]เมื่อทรงอ้าง[[พระธรณี]]เป็นพยานแก่[[พระยามาร]] เครื่องประกอบมักทำเป็นรูป[[ยักษ์]][[มาร]] และ[[นางแม่พระธรณี]]บีบมวยผม
==ประวัติ ==
== ประวัติ ==


พระบรมโพธิสัตว์ (พระพุทธเจ้าก่อนบรรลุธรรม)ได้เสด็จไปประทับใต้ต้นมหาโพธิ์ในเวลาเย็น และนั่งสมาธิกำหนดจิตเจริญสมาธิภาวนา เพื่อการบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ แต่จิตของพระองค์ แทนที่จะคิดไปในทาง โลกุตตรธรรม กลับหันไปคิดถึง โลกิยสุข แต่เมื่อครั้งอยู่ครองเรือน ในหนหลัง และผู้แต่งปฐมสมโพธิกถา ได้แสดงการผจญในโลกิยสุขของพระบรมโพธิสัตว์โดยใช้การผจญของ[[มาร]]เป็นสัญญลักษณ์ ดังนี้ว่าเป็น พระยาวัสสวดี[[มาร]]ซึ่งคอยติดตามพระองค์อยู่ จึงเข้าขัดขวาง โดยขี่ช้างคิรีเมขละ นำเหล่าเสนามารจำนวนมากเข้ามารบกวน หวังให้พระองค์เกรงกลัวจะได้ลุกขึ้นเสด็จหนีไป แต่พระองค์ก็ยังประทับนิ่งเป็นปกติโดยมิได้ทรงหวั่นไหว พระยามารจึงโกรธมาก สั่งให้เสนามารกลุ้มรุมกันประหารพระองค์ พระองค์จึงทรงนึกถึงบารมี 30 ทัศ ที่ทรงบำเพ็ญสั่งสมมาทุกชาติ
พระบรมโพธิสัตว์ (พระพุทธเจ้าก่อนบรรลุธรรม) ได้เสด็จไปประทับใต้ต้นมหาโพธิ์ในเวลาเย็น และนั่งสมาธิกำหนดจิตเจริญสมาธิภาวนา เพื่อการบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ แต่จิตของพระองค์ แทนที่จะคิดไปในทาง โลกุตตรธรรม กลับหันไปคิดถึง โลกิยสุข แต่เมื่อครั้งอยู่ครองเรือน ในหนหลัง และผู้แต่งปฐมสมโพธิกถา ได้แสดงการผจญในโลกิยสุขของพระบรมโพธิสัตว์โดยใช้การผจญของ[[มาร]]เป็นสัญญลักษณ์ ดังนี้ว่าเป็น พระยาวัสสวดี[[มาร]]ซึ่งคอยติดตามพระองค์อยู่ จึงเข้าขัดขวาง โดยขี่ช้างคิรีเมขละ นำเหล่าเสนามารจำนวนมากเข้ามารบกวน หวังให้พระองค์เกรงกลัวจะได้ลุกขึ้นเสด็จหนีไป แต่พระองค์ก็ยังประทับนิ่งเป็นปกติโดยมิได้ทรงหวั่นไหว พระยามารจึงโกรธมาก สั่งให้เสนามารกลุ้มรุมกันประหารพระองค์ พระองค์จึงทรงนึกถึงบารมี 30 ทัศ ที่ทรงบำเพ็ญสั่งสมมาทุกชาติ
โดยขอให้นางแม่พระธรณีเป็นพยาน แม่พระธรณีจึงผุดขึ้นมาจากพื้นดิน แล้วบิดมวยผมจนน้ำท่วม กระแสน้ำก็พัดพาพวกเสนามารไปหมดสิ้น พระยาวัสสวดีมารจึงยอมแพ้หนีไป
โดยขอให้นางแม่พระธรณีเป็นพยาน แม่พระธรณีจึงผุดขึ้นมาจากพื้นดิน แล้วบิดมวยผมจนน้ำท่วม กระแสน้ำก็พัดพาพวกเสนามารไปหมดสิ้น พระยาวัสสวดีมารจึงยอมแพ้หนีไป
==ลักษณะพระพุทธรูป==
== ลักษณะพระพุทธรูป ==
<gallery>
<gallery>
ภาพ:มารวิชัย 1.jpg|พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัย
ไฟล์:มารวิชัย 1.jpg|พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัย
ภาพ:ปางมารวิชัย1.jpg|พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะอยุธยา
ไฟล์:ปางมารวิชัย1.jpg|พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะอยุธยา


</gallery>
</gallery>


==ความเชื่อและคตินิยม==
== ความเชื่อและคตินิยม ==
*เป็นพระพุทธรูปประจำเดือนหก
* เป็นพระพุทธรูปประจำเดือนหก
*พระปางนี้นิยมสร้างเป็นพระประธานในพระอุโบสถ เป็นคติที่พระองค์ทรงพิชิตพระยามาร
* พระปางนี้นิยมสร้างเป็นพระประธานในพระอุโบสถ เป็นคติที่พระองค์ทรงพิชิตพระยามาร
*บ้างเรียกว่าปางผจญมาร, ปางมารสะดุ้ง (ภายหลังผิดเพี้ยนเป็นปางสะดุ้งมาร)
* บ้างเรียกว่าปางผจญมาร, ปางมารสะดุ้ง (ภายหลังผิดเพี้ยนเป็นปางสะดุ้งมาร)


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
*สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]. '''[[ตำนานพุทธเจดีย์]]'''. ธนบุรี : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513
* สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]. '''[[ตำนานพุทธเจดีย์]]'''. ธนบุรี : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513
*เรื่องพระพุทธรูปปางต่างๆ หลวงบริบาลบุรีรัตน์ และนายเกษมบุญศรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ขึ้นเพื่อพระราชทานในงานพระราชกุศลราชคฤหมงคลขึ้นพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2500
* เรื่องพระพุทธรูปปางต่างๆ หลวงบริบาลบุรีรัตน์ และนายเกษมบุญศรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ขึ้นเพื่อพระราชทานในงานพระราชกุศลราชคฤหมงคลขึ้นพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2500
*สกุลศิลปพระพุทธรูปในประเทศไทย อาจารย์จิตร บัวบุศย์
* สกุลศิลปพระพุทธรูปในประเทศไทย อาจารย์จิตร บัวบุศย์
*ศิลปในประเทศไทย ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิสกุล
* ศิลปในประเทศไทย ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิสกุล
*http://www.dhammathai.org/pang/pang.php
* http://www.dhammathai.org/pang/pang.php





รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:52, 27 มิถุนายน 2552

ไฟล์:ปางมารวิชัย.jpg
ลักษณะพระพุทธรูปปางมารวิชัย (พระพุทธชินราช ปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัย)

ปางมารวิชัย เป็นชื่อเรียกของพระพุทธรูปลักษณะนั่งขัดสมาธิราบ (เหมือนปางสมาธิหรือปางตรัสรู้) หรือ ขัดสมาธิเพชร เหมือนปางขัดสมาธิเพชร แต่พระหัตถ์เบื้องขวาคว่ำที่พระเพลา ปลายนิ้วพระหัตถ์ชี้ลงแผ่นดิน หมายถึงเรื่องพระพุทธประวัติเมื่อทรงอ้างพระธรณีเป็นพยานแก่พระยามาร เครื่องประกอบมักทำเป็นรูปยักษ์มาร และนางแม่พระธรณีบีบมวยผม

ประวัติ

พระบรมโพธิสัตว์ (พระพุทธเจ้าก่อนบรรลุธรรม) ได้เสด็จไปประทับใต้ต้นมหาโพธิ์ในเวลาเย็น และนั่งสมาธิกำหนดจิตเจริญสมาธิภาวนา เพื่อการบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ แต่จิตของพระองค์ แทนที่จะคิดไปในทาง โลกุตตรธรรม กลับหันไปคิดถึง โลกิยสุข แต่เมื่อครั้งอยู่ครองเรือน ในหนหลัง และผู้แต่งปฐมสมโพธิกถา ได้แสดงการผจญในโลกิยสุขของพระบรมโพธิสัตว์โดยใช้การผจญของมารเป็นสัญญลักษณ์ ดังนี้ว่าเป็น พระยาวัสสวดีมารซึ่งคอยติดตามพระองค์อยู่ จึงเข้าขัดขวาง โดยขี่ช้างคิรีเมขละ นำเหล่าเสนามารจำนวนมากเข้ามารบกวน หวังให้พระองค์เกรงกลัวจะได้ลุกขึ้นเสด็จหนีไป แต่พระองค์ก็ยังประทับนิ่งเป็นปกติโดยมิได้ทรงหวั่นไหว พระยามารจึงโกรธมาก สั่งให้เสนามารกลุ้มรุมกันประหารพระองค์ พระองค์จึงทรงนึกถึงบารมี 30 ทัศ ที่ทรงบำเพ็ญสั่งสมมาทุกชาติ โดยขอให้นางแม่พระธรณีเป็นพยาน แม่พระธรณีจึงผุดขึ้นมาจากพื้นดิน แล้วบิดมวยผมจนน้ำท่วม กระแสน้ำก็พัดพาพวกเสนามารไปหมดสิ้น พระยาวัสสวดีมารจึงยอมแพ้หนีไป

ลักษณะพระพุทธรูป

ความเชื่อและคตินิยม

  • เป็นพระพุทธรูปประจำเดือนหก
  • พระปางนี้นิยมสร้างเป็นพระประธานในพระอุโบสถ เป็นคติที่พระองค์ทรงพิชิตพระยามาร
  • บ้างเรียกว่าปางผจญมาร, ปางมารสะดุ้ง (ภายหลังผิดเพี้ยนเป็นปางสะดุ้งมาร)

อ้างอิง

  • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ตำนานพุทธเจดีย์. ธนบุรี  : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513
  • เรื่องพระพุทธรูปปางต่างๆ หลวงบริบาลบุรีรัตน์ และนายเกษมบุญศรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ขึ้นเพื่อพระราชทานในงานพระราชกุศลราชคฤหมงคลขึ้นพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2500
  • สกุลศิลปพระพุทธรูปในประเทศไทย อาจารย์จิตร บัวบุศย์
  • ศิลปในประเทศไทย ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิสกุล
  • http://www.dhammathai.org/pang/pang.php