ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขโดดตรวจสอบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่ต้องเติมไทย พูดถึงบัตรทั่วไป
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:doraeminmon039.jpg|thumb|300px|ตัวเลขทางขวาสุดใน[[เลขประจำตัวประชาชนไทย]]เป็นเลขโดดตรวจสอบ]]
[[ไฟล์:doraeminmon039.jpg|thumb|300px|ตัวเลขทางขวาสุดใน[[เลขประจำตัวประชาชนไทย]]เป็นเลขโดดตรวจสอบ]]
'''เลขโดดตรวจสอบ''' <ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน]</ref> ({{lang-en|check digit}}) คือรูปแบบหนึ่งของ[[การตรวจสอบด้วยส่วนซ้ำซ้อน]] (redundancy check) เพื่อ[[การตรวจหาความผิดพลาด]] เป็นตัวเลขหนึ่งหลักซึ่งเทียบเท่าได้กับ[[ผลรวมตรวจสอบ]] (checksum) ซึ่งคำนวณมาจากตัวเลขหลักอื่นๆ ในข้อความ เลขโดดตรวจสอบนิยมใช้กับรหัสตัวเลขหรือตัวอักษรขนาดยาว เช่น เลขใน[[บัตรประจำตัวประชาชน]] [[บาร์โค้ด]] เลขบน[[บัตรเครดิต]] และหมายเลขของการลงทะเบียนต่างๆ
'''เลขโดดตรวจสอบ''' <ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน]</ref> ({{lang-en|check digit}}) คือรูปแบบหนึ่งของ[[การตรวจสอบด้วยส่วนซ้ำซ้อน]] (redundancy check) เพื่อ[[การตรวจหาความผิดพลาด]] เป็นตัวเลขหนึ่งหลักซึ่งเทียบเท่าได้กับ[[ผลรวมตรวจสอบ]] (checksum) ซึ่งคำนวณมาจากตัวเลขหลักอื่นๆ ในข้อความ เลขโดดตรวจสอบนิยมใช้กับรหัสตัวเลขหรือตัวอักษรขนาดยาว เช่น เลขใน[[บัตรประจำตัวประชาชน]] [[บาร์โค้ด]] [[บัญชีเงินฝาก]] เลขบน[[บัตรเครดิต]] และหมายเลขของการลงทะเบียนต่างๆ


การตรวจสอบว่าชุดหมายเลขหนึ่งๆ ถูกต้องหรือไม่ คือการคำนวณตาม[[สูตร]]ที่กำหนดไว้ ถ้าเลขที่คำนวณได้ตรงกับเลขโดดตรวจสอบ แสดงว่าเป็นชุดหมายเลขที่ถูกต้อง สามารถยอมรับได้ (แต่จะมีในระบบหรือไม่ก็เป็นอีกประเด็นหนึ่ง) ข้อดีของเลขโดดตรวจสอบคือ สามารถป้องกันการปลอมแปลงชุดหมายเลขได้ในระดับหนึ่ง สามารถทำให้เข้ากับมาตรฐานของระบบอื่น แต่ข้อเสียคือหากสูตรที่คำนวณไม่รัดกุมหรือถูกเผยแพร่ในแหล่งสาธารณะ และตัวเลขที่ใช้แทนเลขโดดตรวจสอบก็มีจำนวนจำกัด อาจทำให้สามารถคาดเดาได้และแกะสูตรได้โดยง่าย
การตรวจสอบว่าชุดหมายเลขหนึ่งๆ ถูกต้องหรือไม่ คือการคำนวณตาม[[สูตร]]ที่กำหนดไว้ ถ้าเลขที่คำนวณได้ตรงกับเลขโดดตรวจสอบ แสดงว่าเป็นชุดหมายเลขที่ถูกต้อง สามารถยอมรับได้ (แต่จะมีในระบบหรือไม่ก็เป็นอีกประเด็นหนึ่ง) ข้อดีของเลขโดดตรวจสอบคือ สามารถป้องกันการปลอมแปลงชุดหมายเลขได้ในระดับหนึ่ง สามารถทำให้เข้ากับมาตรฐานของระบบอื่น แต่ข้อเสียคือหากสูตรที่คำนวณไม่รัดกุมหรือถูกเผยแพร่ในแหล่งสาธารณะ และตัวเลขที่ใช้แทนเลขโดดตรวจสอบก็มีจำนวนจำกัด อาจทำให้สามารถคาดเดาได้และแกะสูตรได้โดยง่าย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:57, 19 มิถุนายน 2552

ไฟล์:Doraeminmon039.jpg
ตัวเลขทางขวาสุดในเลขประจำตัวประชาชนไทยเป็นเลขโดดตรวจสอบ

เลขโดดตรวจสอบ [1] (อังกฤษ: check digit) คือรูปแบบหนึ่งของการตรวจสอบด้วยส่วนซ้ำซ้อน (redundancy check) เพื่อการตรวจหาความผิดพลาด เป็นตัวเลขหนึ่งหลักซึ่งเทียบเท่าได้กับผลรวมตรวจสอบ (checksum) ซึ่งคำนวณมาจากตัวเลขหลักอื่นๆ ในข้อความ เลขโดดตรวจสอบนิยมใช้กับรหัสตัวเลขหรือตัวอักษรขนาดยาว เช่น เลขในบัตรประจำตัวประชาชน บาร์โค้ด บัญชีเงินฝาก เลขบนบัตรเครดิต และหมายเลขของการลงทะเบียนต่างๆ

การตรวจสอบว่าชุดหมายเลขหนึ่งๆ ถูกต้องหรือไม่ คือการคำนวณตามสูตรที่กำหนดไว้ ถ้าเลขที่คำนวณได้ตรงกับเลขโดดตรวจสอบ แสดงว่าเป็นชุดหมายเลขที่ถูกต้อง สามารถยอมรับได้ (แต่จะมีในระบบหรือไม่ก็เป็นอีกประเด็นหนึ่ง) ข้อดีของเลขโดดตรวจสอบคือ สามารถป้องกันการปลอมแปลงชุดหมายเลขได้ในระดับหนึ่ง สามารถทำให้เข้ากับมาตรฐานของระบบอื่น แต่ข้อเสียคือหากสูตรที่คำนวณไม่รัดกุมหรือถูกเผยแพร่ในแหล่งสาธารณะ และตัวเลขที่ใช้แทนเลขโดดตรวจสอบก็มีจำนวนจำกัด อาจทำให้สามารถคาดเดาได้และแกะสูตรได้โดยง่าย

อ้างอิง