ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โกสัมพี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มคัมภีร์อ้างอิง
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
== ความสำคัญ ==
== ความสำคัญ ==


โกสัมพีมีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาล โดยเป็นเมืองหลวงแห่งแคว้นที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากแคว้นหนึ่งในบรรดา 16 แคว้นของชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาลเมืองแห่งนี้มีพระเจ้าอุเทนราชาเป็นเจ้าผู้ครองแคว้น มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างแคว้นที่สำคัญแคว้นหนึ่ง ในมหาปรินิพพานสูตรระบุว่าพระพุทธองค์ควรมาปรินิพพานที่เมืองใหญ่โกสัมพีนี้ แทนที่จะเป็นเมืองกุสินารา ที่เป็นเมืองเล็ก ในสมัยพุทธกาลเมืองแห่งนี้ปรากฏวัดในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา 4 วัด คือ โฆสิตารามมหาวิหาร, กุกกุฏารามมหาวิหาร, ปาวาริการามมหาวิหาร หรือปาวาริกัมพวัน และพัทริการามมหาวิหาร ซึ่งสร้างโดยมหาเศรษฐีแห่งโกสัมพี 3 คน คือ โฆสกเศรษฐี, กุกกุฏเศรษฐี และปาวาริกเศรษฐีตามลำดับ โดยสามวัดแรกเศรษฐีทั้งสามได้สร้างถวายพระพุทธเจ้าในคราวเดียวกัน<ref>สุนนท์ ปัทมาคม, รศ. . ''สมุดภาพแดนพุทธภูมิ ฉลองชนมายุ 80 ปี พระสุเมธาธิบดี วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์''. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541.</ref>
โกสัมพีมีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาล โดยเป็นเมืองหลวงแห่งแคว้นที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากแคว้นหนึ่งในบรรดา 16 แคว้นของชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาลเมืองแห่งนี้มีพระเจ้าอุเทนราชาเป็นเจ้าผู้ครองแคว้น มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างแคว้นที่สำคัญแคว้นหนึ่ง ในทีฆนิกาย มหาวรรค ระบุว่าพระอานนท์เคยทูลขอให้พระพุทธองค์ควรมาปรินิพพานที่เมืองใหญ่โกสัมพีนี้ แทนที่จะเป็นเมืองกุสินารา ที่เป็นเมืองเล็ก<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=3451&Z=3915&pagebreak=0]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref> ในสมัยพุทธกาลเมืองแห่งนี้ปรากฏวัดในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา 4 วัด คือ โฆสิตารามมหาวิหาร, กุกกุฏารามมหาวิหาร, ปาวาริการามมหาวิหาร หรือปาวาริกัมพวัน และพัทริการามมหาวิหาร ซึ่งสร้างโดยมหาเศรษฐีแห่งโกสัมพี 3 คน คือ โฆสกเศรษฐี, กุกกุฏเศรษฐี และปาวาริกเศรษฐีตามลำดับ โดยสามวัดแรกเศรษฐีทั้งสามได้สร้างถวายพระพุทธเจ้าในคราวเดียวกัน<ref>สุนนท์ ปัทมาคม, รศ. . ''สมุดภาพแดนพุทธภูมิ ฉลองชนมายุ 80 ปี พระสุเมธาธิบดี วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์''. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541.</ref>


ตามคัมภีร์พระพุทธศาสนาระบุว่าพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับจำพรรษาที่ 9 ณ โกสัมพี และมีโอกาสเสด็จมาประทับ ณ เมืองโกสัมพีหลายครั้ง และบางครั้งได้ประทับอยู่นาน ได้ทรงแสดงพระสูตรต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก รวมทั้งทรงบัญญัติสิกขาบทของพระภิกษุสงฆ์หลายสิกขาบท ซึ่งรวมถึงสิกขาบทในสุราปานวรรค ข้อที่ห้ามพระดื่มสุราด้วย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่พระธรรมธรและวินัยธรแห่งโฆสิตารามมหาวิหารทะเลาะกันด้วยเรื่องการคว่ำขันน้ำในห้องน้ำ เกิดเป็นสังฆเภท (แม้พระพุทธเจ้าจะเสด็จมาตักเตือนก็ไม่ยอมกัน จึงทำให้พระพุทธองค์เสด็จไปจำพรรษาที่ 10 ที่รักขิตวัน ในป่าปาริไลยกะ ออกพรรษาแล้วจึงเสด็จไปเมืองสาวัตถี พระที่ทะเลาะกันสำนึกผิดและคืนดีกันได้ในระหว่างพรรษา เมื่ออกพรรษาพระเหล่านั้นจึงพร้อมใจกันไปเฝ้าพระพุทธองค์ที่ เชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัตถี เพื่อกราบทูลขออภัยโทษ) และเรื่องพระฉันนะ (คนเดียวกับฉันนะอำมาตย์ที่พาเสด็จออกผนวช) ถูกพระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์ จนสำนึกผิดและกลับใจปฏิบัติธรรมจนบรรลุพระอรหันต์
ตามคัมภีร์พระพุทธศาสนาระบุว่าพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับจำพรรษาที่ 9 ณ โกสัมพี และมีโอกาสเสด็จมาประทับ ณ เมืองโกสัมพีหลายครั้ง และบางครั้งได้ประทับอยู่นาน ได้ทรงแสดงพระสูตรต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก รวมทั้งทรงบัญญัติสิกขาบทของพระภิกษุสงฆ์หลายสิกขาบท ซึ่งรวมถึงสิกขาบทในสุราปานวรรค ข้อที่ห้ามพระดื่มสุราด้วย<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๘ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๘ ปริวาร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=8&A=8847&Z=8866&pagebreak=0]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref> และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่พระธรรมธรและวินัยธรแห่งโฆสิตารามมหาวิหารทะเลาะกันด้วยเรื่องการคว่ำขันน้ำในห้องน้ำ เกิดเป็นสังฆเภท<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ '''โกสัมพิยสูตร''' ''ทรงโปรดภิกษุชาวเมืองโกสัมพี''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=12&A=9992&Z=10133&pagebreak=0]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref> (แม้พระพุทธเจ้าจะเสด็จมาตักเตือนก็ไม่ยอมกัน จึงทำให้พระพุทธองค์เสด็จไปจำพรรษาที่ 10 ที่รักขิตวัน ในป่าปาริไลยกะ ออกพรรษาแล้วจึงเสด็จไปเมืองสาวัตถี พระที่ทะเลาะกันสำนึกผิดและคืนดีกันได้ในระหว่างพรรษา เมื่ออกพรรษาพระเหล่านั้นจึงพร้อมใจกันไปเฝ้าพระพุทธองค์ที่ เชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัตถี เพื่อกราบทูลขออภัยโทษ) และเรื่องพระฉันนะ (คนเดียวกับฉันนะอำมาตย์ที่พาเสด็จออกผนวช) ถูกพระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์ จนสำนึกผิดและกลับใจปฏิบัติธรรมจนบรรลุพระอรหันต์<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๖ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๖ จุลวรรค ภาค ๑ อุกเขปนียกรรมที่ ๕ '''เรื่องพระฉันนะ'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=6&A=1990&Z=2010]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref>


นอกจากนี้ ยังมีเรื่องราวมากมายที่เกิดขึ้นในเมืองโกสัมพีที่ปรากฎในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เช่น เรื่องโฆสกะเศรษฐี, พระพากุละ, พระปิณโฑละภารัทวาชะ, เรื่องพระเจ้าอุเทนราชากับพระนางสามาวดี พระนางมาคันทิยา พระนางวาสุลทัตตา เป็นต้น รวมทั้งเรื่องพระนางมาคันทิยาผูกอาฆาตพระพุทธเจ้าเพราะพระเจ้าอุเทนผู้เป็นพระสวามีสนใจแต่พระพุทธเจ้าจนลืมพระนาง จ้างให้เดียรถีร์และเหล่ามิจฉาทิฏฐิติดตามด่าพระพุทธองค์ตลอดเวลา ซึ่งเป็นต้นเหตุของพระพุทธภาษิตสำคัญที่ถือได้ว่าเป็นธรรมะสอนใจดียิ่ง<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 10 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 2 ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=2419&Z=3915&pagebreak=0]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref>
นอกจากนี้ ยังมีเรื่องราวมากมายที่เกิดขึ้นในเมืองโกสัมพีที่ปรากฎในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เช่น เรื่องโฆสกะเศรษฐี, พระพากุละ, พระปิณโฑละภารัทวาชะ, เรื่องพระเจ้าอุเทนราชากับพระนางสามาวดี พระนางมาคันทิยา พระนางวาสุลทัตตา เป็นต้น รวมทั้งเรื่องพระนางมาคันทิยาผูกอาฆาตพระพุทธเจ้าเพราะพระเจ้าอุเทนผู้เป็นพระสวามีสนใจแต่พระพุทธเจ้าจนลืมพระนาง จ้างให้เดียรถีร์และเหล่ามิจฉาทิฏฐิติดตามด่าพระพุทธองค์ตลอดเวลา ซึ่งเป็นต้นเหตุของพระพุทธภาษิตสำคัญที่ถือได้ว่าเป็นธรรมะสอนใจดียิ่ง<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ พระวินัยปิฎก เล่มที่ มหาวรรค ภาค ๒ โกสัมพีขันธกะ '''เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง''' . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=5&A=5937&Z=5967&pagebreak=0]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:36, 4 มิถุนายน 2552

เหรียญกษาปน์ทองแดงโบราณพบที่เมืองโกสัมพี จารึกคำว่า "โกสัมพี" ปัจจุบันเหรียญนี้เก็บรักษาอยู่ที่บริติสมิวเซียม ประเทศอังกฤษ

โกสัมพี (อังกฤษ: Kosambi) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นวังสะ 1 ใน มหาชนบทในสมัยพุทธกาล เมืองนี้รุ่งเรืองจากการที่เป็นชุมนุมการค้าขายในสมัยโบราณ ปัจจุบันเมืองนี้เหลือเพียงซากโบราณสถาน รูปโค้งพระจันทร์เสี้ยวริมฝั่งแม่น้ำยมุนา ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านโกสัม (Kosam) หรือหมู่บ้านหิสัมบาทตชนบท[1] จังหวัดอัลลฮาบาต โดยตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของตัวจังหวัดประมาณ 59 กิโลเมตร เมืองนี้ได้เริ่มต้นทำการขุดค้นทางโบราณคดีโดยศาสตรจารย์ จี.อาร์.ชาร์มา แห่งมหาวิทยาลัยอัลลาหบาต ในปี พ.ศ. 2492 และมีการสำรวจอีกครั้งในปี พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2499 ปัจจุบันปรากฎหลักฐานที่ได้จากการสำรวจขุดค้นเป็นที่แน่นอนแล้ว โดยยังคงมีซากกำแพงเมืองปรากฏให้เห็นอยู่ และได้ค้นพบวัดโบราณที่สันนิษฐานว่าเป็นโฆสิตารามมหาวิหาร วัดที่สร้างขึ้นในสมัยพุทธกาล ซึ่งมีการค้นพบบาตรดินโบราณ พระพุทธรูป และโบราณวัตถุจำนวนมากภายในแหล่งขุดค้นเมืองโกสัมพีแห่งนี้ โดยโบราณวัตถุส่วนใหญ่ทางการอินเดียได้นำไปเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑ์แห่งเมืองอัลลหบาต

ความสำคัญ

โกสัมพีมีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาล โดยเป็นเมืองหลวงแห่งแคว้นที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากแคว้นหนึ่งในบรรดา 16 แคว้นของชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาลเมืองแห่งนี้มีพระเจ้าอุเทนราชาเป็นเจ้าผู้ครองแคว้น มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างแคว้นที่สำคัญแคว้นหนึ่ง ในทีฆนิกาย มหาวรรค ระบุว่าพระอานนท์เคยทูลขอให้พระพุทธองค์ควรมาปรินิพพานที่เมืองใหญ่โกสัมพีนี้ แทนที่จะเป็นเมืองกุสินารา ที่เป็นเมืองเล็ก[2] ในสมัยพุทธกาลเมืองแห่งนี้ปรากฏวัดในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา 4 วัด คือ โฆสิตารามมหาวิหาร, กุกกุฏารามมหาวิหาร, ปาวาริการามมหาวิหาร หรือปาวาริกัมพวัน และพัทริการามมหาวิหาร ซึ่งสร้างโดยมหาเศรษฐีแห่งโกสัมพี 3 คน คือ โฆสกเศรษฐี, กุกกุฏเศรษฐี และปาวาริกเศรษฐีตามลำดับ โดยสามวัดแรกเศรษฐีทั้งสามได้สร้างถวายพระพุทธเจ้าในคราวเดียวกัน[3]

ตามคัมภีร์พระพุทธศาสนาระบุว่าพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับจำพรรษาที่ 9 ณ โกสัมพี และมีโอกาสเสด็จมาประทับ ณ เมืองโกสัมพีหลายครั้ง และบางครั้งได้ประทับอยู่นาน ได้ทรงแสดงพระสูตรต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก รวมทั้งทรงบัญญัติสิกขาบทของพระภิกษุสงฆ์หลายสิกขาบท ซึ่งรวมถึงสิกขาบทในสุราปานวรรค ข้อที่ห้ามพระดื่มสุราด้วย[4] และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่พระธรรมธรและวินัยธรแห่งโฆสิตารามมหาวิหารทะเลาะกันด้วยเรื่องการคว่ำขันน้ำในห้องน้ำ เกิดเป็นสังฆเภท[5] (แม้พระพุทธเจ้าจะเสด็จมาตักเตือนก็ไม่ยอมกัน จึงทำให้พระพุทธองค์เสด็จไปจำพรรษาที่ 10 ที่รักขิตวัน ในป่าปาริไลยกะ ออกพรรษาแล้วจึงเสด็จไปเมืองสาวัตถี พระที่ทะเลาะกันสำนึกผิดและคืนดีกันได้ในระหว่างพรรษา เมื่ออกพรรษาพระเหล่านั้นจึงพร้อมใจกันไปเฝ้าพระพุทธองค์ที่ เชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัตถี เพื่อกราบทูลขออภัยโทษ) และเรื่องพระฉันนะ (คนเดียวกับฉันนะอำมาตย์ที่พาเสด็จออกผนวช) ถูกพระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์ จนสำนึกผิดและกลับใจปฏิบัติธรรมจนบรรลุพระอรหันต์[6]

นอกจากนี้ ยังมีเรื่องราวมากมายที่เกิดขึ้นในเมืองโกสัมพีที่ปรากฎในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เช่น เรื่องโฆสกะเศรษฐี, พระพากุละ, พระปิณโฑละภารัทวาชะ, เรื่องพระเจ้าอุเทนราชากับพระนางสามาวดี พระนางมาคันทิยา พระนางวาสุลทัตตา เป็นต้น รวมทั้งเรื่องพระนางมาคันทิยาผูกอาฆาตพระพุทธเจ้าเพราะพระเจ้าอุเทนผู้เป็นพระสวามีสนใจแต่พระพุทธเจ้าจนลืมพระนาง จ้างให้เดียรถีร์และเหล่ามิจฉาทิฏฐิติดตามด่าพระพุทธองค์ตลอดเวลา ซึ่งเป็นต้นเหตุของพระพุทธภาษิตสำคัญที่ถือได้ว่าเป็นธรรมะสอนใจดียิ่ง[7]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).พุทธสถานในอินเดีย - เวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541.
  2. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[1]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  3. สุนนท์ ปัทมาคม, รศ. . สมุดภาพแดนพุทธภูมิ ฉลองชนมายุ 80 ปี พระสุเมธาธิบดี วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541.
  4. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๘ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๘ ปริวาร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[2]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  5. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ โกสัมพิยสูตร ทรงโปรดภิกษุชาวเมืองโกสัมพี. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[3]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  6. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๖ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๖ จุลวรรค ภาค ๑ อุกเขปนียกรรมที่ ๕ เรื่องพระฉันนะ. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[4]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  7. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ โกสัมพีขันธกะ เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[5]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52

แหล่งข้อมูลอื่น