ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กตรอนโวลต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: eu:Elektronvolt; ประทิ่นเปลี่ยนแปลง
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ได้รับการยอมรับ (แต่ไม่แนะนำ) ให้ใช้กับระบบ [[SI]] หน่วยนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในวงการ[[โซลิดสเตต]] [[ปรมาณู]] [[นิวเคลียร์]] และ[[ฟิสิกส์อนุภาค]] และมักใช้ร่วมกับตัวนำหน้าหน่วย m k M หรือ G
หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ได้รับการยอมรับ (แต่ไม่แนะนำ) ให้ใช้กับระบบ [[SI]] หน่วยนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในวงการ[[โซลิดสเตต]] [[ปรมาณู]] [[นิวเคลียร์]] และ[[ฟิสิกส์อนุภาค]] และมักใช้ร่วมกับตัวนำหน้าหน่วย m k M หรือ G

== หน่วยพหุคูณ ==

{{พหุคูณเอสไอ
|symbol=J
|unit=จูล
|note=หน่วยที่นิยมใช้แสดงเป็น'''ตัวหนา'''
|m=|k=|M=|G=
}}


[[หมวดหมู่:ไฟฟ้า]]
[[หมวดหมู่:ไฟฟ้า]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:19, 24 พฤษภาคม 2552

อิเล็กตรอนโวลต์ (อังกฤษ: electronvolt, สัญลักษณ์: eV) เป็นหน่วยการวัดพลังงาน เท่ากับปริมาณของพลังงานจลน์ ที่เกิดขึ้นจากการที่อิเล็กตรอนอิสระเดินทางผ่านความต่างศักย์จากไฟฟ้าสถิตขนาด 1 โวลต์ในสุญญากาศ

พลังงานหนึ่งอิเล็กตรอนโวลต์เป็นพลังงานที่น้อยมาก คือ

1 eV = ×101.602 176 53 (14) J (ที่มา: ค่าที่แนะนำให้ใช้จาก CODATA 2002)

หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ได้รับการยอมรับ (แต่ไม่แนะนำ) ให้ใช้กับระบบ SI หน่วยนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในวงการโซลิดสเตต ปรมาณู นิวเคลียร์ และฟิสิกส์อนุภาค และมักใช้ร่วมกับตัวนำหน้าหน่วย m k M หรือ G

หน่วยพหุคูณ

พหุคูณเอสไอสำหรับหน่วยจูล (J)
พหุคูณย่อย พหุคูณใหญ่
ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ
10–1 J dJ เดซิจูล 101 J daJ เดคาจูล
10–2 J cJ เซนติจูล 102 J hJ เฮกโตจูล
10–3 J mJ มิลลิจูล 103 J kJ กิโลจูล
10–6 J µJ ไมโครจูล 106 J MJ เมกะจูล
10–9 J nJ นาโนจูล 109 J GJ จิกะจูล
10–12 J pJ พิโกจูล 1012 J TJ เทระจูล
10–15 J fJ เฟมโตจูล 1015 J PJ เพตะจูล
10–18 J aJ อัตโตจูล 1018 J EJ เอกซะจูล
10–21 J zJ เซปโตจูล 1021 J ZJ เซตตะจูล
10–24 J yJ ยอกโตจูล 1024 J YJ ยอตตะจูล
หน่วยที่นิยมใช้แสดงเป็นตัวหนา