ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีบทของวิลสัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kie (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
Kie (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


:<math>10! = 1(10)(2 \cdot 6)(3 \cdot 4)(5 \cdot 9)(7 \cdot 8) \ \equiv\ -1\ (\mbox{mod}\ 11)</math>
:<math>10! = 1(10)(2 \cdot 6)(3 \cdot 4)(5 \cdot 9)(7 \cdot 8) \ \equiv\ -1\ (\mbox{mod}\ 11)</math>

สำหรับบทกลับ ให้ ''n'' เป็น[[จำนวนประกอบ]] ที่ทำให้ (''n'' &minus; 1)! &equiv; &minus;1 (mod ''p''), n จะมี[[ตัวหาร]]แท้ ''d'' ซึ่ง 1 < ''d'' < ''n'' ดังนั้น ''d'' หาร (''n'' &minus; 1)! ลงตัว แต่ ''d'' หาร (''n'' &minus; 1)! + 1 ลงตัวด้วย ดังนั้น ''d'' หาร 1 ลงตัว ทำให้เกิดข้อขัดแย้ง


== การประยุกต์ ==
== การประยุกต์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:23, 22 พฤษภาคม 2548

ในคณิตศาสตร์, ทฤษฎีบทของวิลสัน (Wilson's Theorem) กล่าวว่า สำหรับจำนวนเฉพาะ p > 1,

(ดูเพิ่มเติมใน แฟกทอเรียล และ เลขคณิตมอดุลาร์ สำหรับความหมายของสัญกรณ์)

ประวัติ

การพิสูจน์

ใช้ข้อเท็จจริงที่ว่า ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ แล้วเซต G = (Z/pZ)× = {1, 2, ... p − 1} จะอยู่ในรูปกรุปภายใต้มอดุโลการคูณ pได้ นั่นหมายความว่า สำหรับแต่ละสมาชิก i ใน G จะมีสมาชิกผกผัน j ใน G ที่ทำให้ ij ≡ 1 (mod p) ได้อย่างเดียว. ถ้า ij (mod p) แล้วจะทำให้ i2 − 1 = (i + 1)(i − 1) ≡ 0 (mod p) จาก p เป็นจำนวนเฉพาะ ทำให้ i ≡ 1 หรือ −1 (mod p), นั่นคือ i = 1 หรือ i = p − 1.

หรือกล่าวได้ว่า 1 และ p − 1 เท่านั้น ที่เป็นตัวผกผันกับตัวเอง แต่สมาชิกตัวอื่นๆใน G จะมีตัวผกผันที่แตกต่างกัน ดังนั้น ถ้าจับคู่สมาชิกตัวที่ผกผันกันใน G และคูณทั้งหมดเข้าด้วยกัน จะได้ผลคูณเท่ากับ -1 ตัวอย่างเช่น ถ้า p = 11 จะได้

สำหรับบทกลับ ให้ n เป็นจำนวนประกอบ ที่ทำให้ (n − 1)! ≡ −1 (mod p), n จะมีตัวหารแท้ d ซึ่ง 1 < d < n ดังนั้น d หาร (n − 1)! ลงตัว แต่ d หาร (n − 1)! + 1 ลงตัวด้วย ดังนั้น d หาร 1 ลงตัว ทำให้เกิดข้อขัดแย้ง

การประยุกต์

บทกลับ