ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดคาร์บอนิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SilvonenBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ur:کاربونک تیزاب
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{chembox
<!-- Here is a table of data; skip past it to edit the text. -->
| ImageFileL1 = Carbonic-acid-2D.svg
{| align="right" border="1" cellspacing="0" cellpadding="3" style="margin: 0 0 0 0.5em; background: #FFFFFF; border-collapse: collapse; border-color: #C0C090;"
| ImageSize =
! {{chembox header}} | {{PAGENAME}}
| ImageFileR1 = Carbonic-acid-3D-vdW.png
|-
| IUPACName =
| align="center" colspan=2 | [[ภาพ:Carbonic_acid.png|250px|Chemical structure]]
| OtherNames = Carbon dioxide solution, dihydrogen carbonate (IUPAC)
|-
| Section1 = {{Chembox Identifiers
| Other names
| CASNo = 463-79-6
| Carbon dioxide solution
| CASNo_Ref = {{cascite}}
|-
| PubChem =
| [[สูตรเคมี|สูตรโมเลกุล]]
| ChemSpiderID = 747
| H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>
| SMILES = C (=O) (O) O
|-
}}
| [[Simplified molecular input line entry specification|SMILES]]
| Section2 = {{Chembox Properties
| C(=O)(O)O
| Formula = H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>
|-
| MolarMass = 62.03 g/mol
| [[น้ำหนักโมเลกุล|มวลโมเลกุล]]
| Appearance =
| 62.03 g/mol
| Density = 1.0 g/cm<sup>3</sup> (dilute soln.)
|-
| Solubility = exists only in solution
| [[เลขทะเบียน CAS]]
| pKa = 10.25
| 463-79-6
| MeltingPt = n/a
|-
| BoilingPt =
| [[ความหนาแน่น]] และ [[เฟส (สสาร)|เฟส]]
}}
| 1.0 g/cm<sup>3</sup><br />(dilute solution)
| Section3 = {{Chembox Hazards
|-
| MainHazards =
| [[การละลาย]] ใน [[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]]
| FlashPt =
| exists only in solution
}}
|-
}}
| [[ค่าแตกตัวคงที่ของกรด|ความเป็นกรด]] (p''K''<sub>a</sub>)
| 3.60 (''see text'')<br />10.25
|-
| {{chembox header}} |<small>[[wikipedia:Chemical infobox|Disclaimer and references]]</small>
|-
|}


'''กรดคาร์บอนิก''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:Carbonic acid) เป็น[[กรด]]ชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของ[[คาร์บอน]]เป็นส่วนประกอบ มี[[สูตรเคมี|สูตรโมเลกุล]] H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียก[[สารละลาย]]ของ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ใน[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] ซึ่งมี H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า '''ไบคาร์บอเนต''' (หรือ '''ไฮโดรเจนคาร์บอเนต''') และ '''คาร์บอเนต'''
'''กรดคาร์บอนิก''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:Carbonic acid) เป็น[[กรด]]ชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของ[[คาร์บอน]]เป็นส่วนประกอบ มี[[สูตรเคมี|สูตรโมเลกุล]] H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียก[[สารละลาย]]ของ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ใน[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] ซึ่งมี H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า '''ไบคาร์บอเนต''' (หรือ '''ไฮโดรเจนคาร์บอเนต''') และ '''คาร์บอเนต'''
บรรทัด 40: บรรทัด 35:


[[ค่าคงที่สมดุล]]ที่ 25&deg;C เท่ากับ 1.70×10<sup>−3</sup>: ดังนั้น[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO<sub>2</sub> ถ้าหากไม่มี[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมี[[อัตราการเกิดปฏิกิริยา]] (rate constant) เท่ากับ 0.039 s<sup>−1</sup> สำหรับขาไป
[[ค่าคงที่สมดุล]]ที่ 25&deg;C เท่ากับ 1.70×10<sup>−3</sup>: ดังนั้น[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO<sub>2</sub> ถ้าหากไม่มี[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมี[[อัตราการเกิดปฏิกิริยา]] (rate constant) เท่ากับ 0.039 s<sup>−1</sup> สำหรับขาไป
::(CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O &rarr; H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>)
:: (CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O &rarr; H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>)
และ 23 s<sup>−1</sup> สำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ
และ 23 s<sup>−1</sup> สำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ
::(H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> &rarr; CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O).
:: (H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> &rarr; CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O).


สมดุลระหว่าง[[คาร์บอนไดออกไซด์]]และคาร์บอนิกแอซิด มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมี[[เอนไซม์]]ชื่อ[[คาร์บอนิกแอนไฮเดรส]] เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 10<sup>9</sup> เท่า
สมดุลระหว่าง[[คาร์บอนไดออกไซด์]]และคาร์บอนิกแอซิด มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมี[[เอนไซม์]]ชื่อ[[คาร์บอนิกแอนไฮเดรส]] เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 10<sup>9</sup> เท่า
บรรทัด 55: บรรทัด 50:
* {{Cite book | author=Jolly, W. L. | title=Modern Inorganic Chemistry (2nd Edn.) | publisher=New York:MgGraw-Hill | year=1991 | ID=ISBN 0-07-112651-1}}
* {{Cite book | author=Jolly, W. L. | title=Modern Inorganic Chemistry (2nd Edn.) | publisher=New York:MgGraw-Hill | year=1991 | ID=ISBN 0-07-112651-1}}


== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==


* [http://www.newton.dep.anl.gov/askasci/chem99/chem99661.htm Ask a Scientist: Carbonic Acid Decomposition]
* [http://www.newton.dep.anl.gov/askasci/chem99/chem99661.htm Ask a Scientist: Carbonic Acid Decomposition]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:54, 4 พฤษภาคม 2552

กรดคาร์บอนิก
ชื่อ
ชื่ออื่น
Carbon dioxide solution, dihydrogen carbonate (IUPAC)
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.133.015 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • C (=O) (O) O
คุณสมบัติ
H2CO3
มวลโมเลกุล 62.03 g/mol
ความหนาแน่น 1.0 g/cm3 (dilute soln.)
จุดหลอมเหลว n/a
exists only in solution
pKa 10.25
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

กรดคาร์บอนิก (อังกฤษ:Carbonic acid) เป็นกรดชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ มีสูตรโมเลกุล H2CO3 กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียกสารละลายของคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำ ซึ่งมี H2CO3 อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า ไบคาร์บอเนต (หรือ ไฮโดรเจนคาร์บอเนต) และ คาร์บอเนต

คาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายน้ำเกิดสมดุลเคมีกับกรดคาร์บอนิก ดังสมการต่อนี้

CO2 + H2O → H2CO3

ค่าคงที่สมดุลที่ 25°C เท่ากับ 1.70×10−3: ดังนั้นคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO2 ถ้าหากไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมีอัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate constant) เท่ากับ 0.039 s−1 สำหรับขาไป

(CO2 + H2O → H2CO3)

และ 23 s−1 สำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ

(H2CO3 → CO2 + H2O).

สมดุลระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์และคาร์บอนิกแอซิด มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมีเอนไซม์ชื่อคาร์บอนิกแอนไฮเดรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 109 เท่า

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Welch, M. J.; Lipton, J. F.; Seck, J. A. (1969). J. Phys. Chem. 73:3351.
  • Jolly, W. L. (1991). Modern Inorganic Chemistry (2nd Edn.). New York:MgGraw-Hill. ISBN 0-07-112651-1.

แหล่งข้อมูลอื่น