ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็มเธียเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Omuretto (คุย | ส่วนร่วม)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการวิกิลิงก์}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}


'''M เธียเตอร์''' (พ.ศ. 2536 - 2547) โรงละครกรุงเทพ ในวันที่ 28 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2536]] โดย[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ได้ทรงพระกรุณาเสด็จมาเป็นประธานในงาน เปิดโรงละครกรุงเทพ โดยมีจุดมุ่งหมายจะให้เป็นศูนย์กลาง ในการแสดงทางศิลปวัฒนธรรมสำหรับประชาชนทั่วไป รวมทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้ที่รักการละครทุกคน
'''M เธียเตอร์'''


โรงละครเอกชนแห่งนี้ จัดตั้งขึ้น โดยมีปรัชญาความเชื่อที่ว่า [[ประเทศไทย]]จะก้าวหน้าทัดเทียมกับประเทศอื่นในโลก ได้ต้องมีปัจจัยหลัก 2 ประการ ในการพัฒนาคุณภาพของประชากร ในประเทศนั่นคือ การพัฒนาด้านศิลปะวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาด้าน[[เทคโนโลยี]]เพราะ เมื่อปราศจากความเข้มแข็งในด้านศิลปะวัฒนธรรมแล้ว ประเทศก็จะ พัฒนาไปได้เฉพาะแต่เปลือก ที่เป็นเทคโนโลยี แต่ปราศจากแก่นที่เป็นหัวใจที่สำคัญที่สุดในการสร้างสรรค์และ พัฒนาคุณภาพของคน
== ประวัติ ==


อย่างไรก็ตามด้วยปัญหาด้านการหมดสัญญาเช่าที่ดิน ทำให้ แดส เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ ผู้ก่อตั้งโรงละครกรุงเทพและผู้ถือหุ้นอื่น ลงมติร่วมกันที่จะยุติกิจการของบริษัทโรงละครกรุงเทพตั้งแต่ วันที่ 31 ธันวาคม [[พ.ศ. 2547]]
2536-2547 โรงละครกรุงเทพ
ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
ได้ทรงพระกรุณาเสด็จมาเป็นประธานในงาน เปิดโรงละครกรุงเทพ โดยมีจุดมุ่งหมายจะให้เป็นศูนย์
กลาง ในการแสดงทางศิลปวัฒนธรรมสำหรับประชาชนทั่วไป รวมทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับ
ผู้ที่รักการละครทุกคน

โรงละครเอกชนแห่งนี้ จัดตั้งขึ้น โดยมีปรัชญาความเชื่อที่ว่า ประเทศไทยจะก้าวหน้าทัดเทียมกับ
ประเทศอื่นในโลก ได้ต้องมีปัจจัยหลัก 2 ประการ ในการพัฒนาคุณภาพของประชากร ในประเทศนั่นคือ การพัฒนาด้านศิลปะวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีเพราะ
เมื่อปราศจากความเข้มแข็งในด้านศิลปะวัฒนธรรมแล้ว ประเทศก็จะ พัฒนาไปได้เฉพาะแต่
เปลือก ที่เป็นเทคโนโลยี แต่ปราศจากแก่นที่เป็นหัวใจที่สำคัญที่สุด
ในการสร้างสรรค์และ พัฒนาคุณภาพของคน

อย่างไรก็ตามด้วยปัญหาด้านการหมดสัญญาเช่าที่ดิน ทำให้ แดส เอ็นเทอร์เทนเม้นท์
ผู้ก่อตั้งโรงละครกรุงเทพและผู้ถือหุ้นอื่น ลงมติร่วมกันที่จะยุติกิจการของ
บริษัทโรงละครกรุงเทพตั้งแต่ วันที่ 31 ธันวาคม 2547
[[พ.ศ. 2548]] - ปัจจุบันนับแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 ทาง บริษัท สหมนูญผล จำกัด ได้เข้าบริหารและจัดการโรงละครกรุงเทพเดิม และในปี พ.ศ. 2551 ด้วยความร่วมมือจากบริษัท [http://www.dreambox.co.th ดรีมบอกซ์] จำกัดซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ถือหุ้นเดิมของแดส เอ็นเทอร์เทนเม้นท์และโรงละครกรุงเทพ โรงละครกรุงเทพจึงได้รับการปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง โดยเปลี่ยนชื่อเป็น [http://www.mtheatrebangkok.com/ M Theatre]
2548- ปัจจุบัน
นับแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 ทาง บริษัท สหมนูญผล จำกัด ได้เข้าบริหารและจัดการโรงละครกรุงเทพเดิม และในปี พ.ศ. 2551 ด้วยความร่วมมือจากบริษัท [http://www.dreambox.co.th/ ดรีมบอกซ์]จำกัดซึ่งเป็นหนึ่ง
ในกลุ่มผู้ถือหุ้นเดิมของแดส เอ็นเทอร์เทนเม้นท์และโรงละครกรุงเทพ โรงละครกรุงเทพจึงได้รับ
การปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง โดยเปลี่ยนชื่อเป็น [http://www.mtheatrebangkok.com/ M Theatre]


กลุ่มผู้บริหาร M Theatre มีเจตนารมย์แน่วแน่ที่จะดำเนินการให้โรงละครที่มีประวัติความเป็นมา
กลุ่มผู้บริหาร M Theatre มีเจตนารมย์แน่วแน่ที่จะดำเนินการให้โรงละครที่มีประวัติความเป็นมายาวนานโรงนี้ได้เป็นศูนย์กลางสำหรับการแสดงทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นการแสดงดนตรี การแสดงนาฎศิลป์ไทยและสากล รวมทั้งการแสดงละครเวทีในรูปแบบต่างๆ
ยาวนานโรงนี้ได้เป็นศูนย์กลางสำหรับการแสดงทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นการแสดงดนตรี
การแสดงนาฎศิลป์ไทยและสากล รวมทั้งการแสดงละครเวทีในรูปแบบต่างๆ




นอกจากนั้นยังหวังจะให้โรงละครนี้เป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษาและ
นอกจากนั้นยังหวังจะให้โรงละครนี้เป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษาและประชาชนทั่วไปในด้านของศิลปะการแสดงอีกด้วย ในการปรับปรุงสถานที่ใหม่นี้ โรงละคร M Theatre ยังจัดพื้นที่ในส่วน Event Hall เพิ่มเติมขึ้นมา เพื่อรองรับการจัดงาน Event ต่างๆ หรือ การจัดแสดง visual arts เช่น การจัดแสดงนิทรรศการ การแสดงจิตรกรรมและปฏิมากรรมโดยศิลปินร่วมสมัย เป็นต้น
ประชาชนทั่วไปในด้านของศิลปะการแสดงอีกด้วย
ในการปรับปรุงสถานที่ใหม่นี้ โรงละคร M Theatre ยังจัดพื้นที่ในส่วน Event Hall
เพิ่มเติมขึ้นมา เพื่อรองรับการจัดงาน Event ต่างๆ หรือ การจัดแสดง visual arts เช่น
การจัดแสดงนิทรรศการ การแสดงจิตรกรรมและปฏิมากรรมโดยศิลปินร่วมสมัย เป็นต้น


[[หมวดหมู่:โรงละคร]]
[[หมวดหมู่:โรงละคร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:54, 30 เมษายน 2552

M เธียเตอร์ (พ.ศ. 2536 - 2547) โรงละครกรุงเทพ ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาเสด็จมาเป็นประธานในงาน เปิดโรงละครกรุงเทพ โดยมีจุดมุ่งหมายจะให้เป็นศูนย์กลาง ในการแสดงทางศิลปวัฒนธรรมสำหรับประชาชนทั่วไป รวมทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้ที่รักการละครทุกคน

โรงละครเอกชนแห่งนี้ จัดตั้งขึ้น โดยมีปรัชญาความเชื่อที่ว่า ประเทศไทยจะก้าวหน้าทัดเทียมกับประเทศอื่นในโลก ได้ต้องมีปัจจัยหลัก 2 ประการ ในการพัฒนาคุณภาพของประชากร ในประเทศนั่นคือ การพัฒนาด้านศิลปะวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีเพราะ เมื่อปราศจากความเข้มแข็งในด้านศิลปะวัฒนธรรมแล้ว ประเทศก็จะ พัฒนาไปได้เฉพาะแต่เปลือก ที่เป็นเทคโนโลยี แต่ปราศจากแก่นที่เป็นหัวใจที่สำคัญที่สุดในการสร้างสรรค์และ พัฒนาคุณภาพของคน

อย่างไรก็ตามด้วยปัญหาด้านการหมดสัญญาเช่าที่ดิน ทำให้ แดส เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ ผู้ก่อตั้งโรงละครกรุงเทพและผู้ถือหุ้นอื่น ลงมติร่วมกันที่จะยุติกิจการของบริษัทโรงละครกรุงเทพตั้งแต่ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547


พ.ศ. 2548 - ปัจจุบันนับแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 ทาง บริษัท สหมนูญผล จำกัด ได้เข้าบริหารและจัดการโรงละครกรุงเทพเดิม และในปี พ.ศ. 2551 ด้วยความร่วมมือจากบริษัท ดรีมบอกซ์ จำกัดซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ถือหุ้นเดิมของแดส เอ็นเทอร์เทนเม้นท์และโรงละครกรุงเทพ โรงละครกรุงเทพจึงได้รับการปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง โดยเปลี่ยนชื่อเป็น M Theatre

กลุ่มผู้บริหาร M Theatre มีเจตนารมย์แน่วแน่ที่จะดำเนินการให้โรงละครที่มีประวัติความเป็นมายาวนานโรงนี้ได้เป็นศูนย์กลางสำหรับการแสดงทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นการแสดงดนตรี การแสดงนาฎศิลป์ไทยและสากล รวมทั้งการแสดงละครเวทีในรูปแบบต่างๆ


นอกจากนั้นยังหวังจะให้โรงละครนี้เป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษาและประชาชนทั่วไปในด้านของศิลปะการแสดงอีกด้วย ในการปรับปรุงสถานที่ใหม่นี้ โรงละคร M Theatre ยังจัดพื้นที่ในส่วน Event Hall เพิ่มเติมขึ้นมา เพื่อรองรับการจัดงาน Event ต่างๆ หรือ การจัดแสดง visual arts เช่น การจัดแสดงนิทรรศการ การแสดงจิตรกรรมและปฏิมากรรมโดยศิลปินร่วมสมัย เป็นต้น