ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีสตริง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SuperForce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Point&string.png|right|thumb|300px|อันตรกิริยาในโลกอนุภาคย่อยของอะตอม : [[world line]] of pointlike [[Subatomic particle|particle]]s in the [[Standard Model]] or a [[world sheet]] swept up by closed [[string (physics)|strings]] in string theory]]
[[ไฟล์:Point&string.png|right|thumb|300px|อันตรกิริยาในโลกอนุภาคย่อยของอะตอม : [[world line]] of pointlike [[Subatomic particle|particle]]s in the [[Standard Model]] or a [[world sheet]] swept up by closed [[string (physics)|strings]] in string theory]]


'''ทฤษฎีสตริง''' เป็น[[แบบจำลองทางคณิตศาสตร์]] สำหรับ[[ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี]] ที่มี บล็อกโครงสร้าง(building blocks) เป็นวัตถุขยายมิติเดียว ([[สตริง (ฟิสิกส์)|สตริง]]) แทนที่จะเป็นจุดศูนย์มิติ ([[อนุภาคจุด|อนุภาค]]) ซึ่งเป็นพื้นฐานของ[[แบบจำลองมาตรฐาน]]ของ[[ฟิสิกส์อนุภาค]] นักทฤษฎีสตริงนั้นพยายามที่จะปรับแบบจำลองมาตรฐาน โดยการยกเลิกสมมุติฐานในควันตัมแมคานิกส์ ที่ว่าอนุภาคนั้นเป็นเหมือนจุด ในการยกเลิกสมมุติฐานดังกล่าว และแทนที่อนุภาคคล้ายจุดด้วยสตริงหรือสาย ทำให้มีความหวังว่าทฤษฎีสตริงจะพัฒนาไปสู่ทฤษฎีสนามโน้มถ่วงควันตัมที่เข้าใจได้ง่าย นอกจากนี้ทฤษฎีสตริงยังปรากฏว่าสามารถที่จะ "รวม" แรงธรรมชาติที่รู้จักทั้งหมด (แรงโน้มถ้วง, แรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงอันตรกิริยาแบบอ่อน และแรงอันตรกิริยาแบบเข้ม) โดยการบรรยายด้วยชุดสมการเดียวกัน</br>ทฤษฎีสตริงถือเป็นทฤษฎีที่อาจเป็น[[ทฤษฎีโน้มถ่วงเชิงควอนตัม]]ที่ถูกต้องแต่ยังมีทฤษฎีอื่นๆที่ถือว่าเป็นคู่แข่ง เช่น [[ความโน้มถ่วงเชิงควอนตัมแบบลูป]](Loop Quantum Gravity:[[LQG]] หรือ Quantum General RelativityQGR), ไดนามิกส์แบบคอสชวลของสามเหลี่ยม(Causual Dynamics Triangulation:[[CDT]]),[[ซุเปอร์กวาวิตี]](Supergravity) เป็นต้น
'''ทฤษฎีสตริง''' เป็น[[แบบจำลองทางคณิตศาสตร์]] สำหรับ[[ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี]] ที่มี บล็อกโครงสร้าง (building blocks) เป็นวัตถุขยายมิติเดียว ([[สตริง (ฟิสิกส์)|สตริง]]) แทนที่จะเป็นจุดศูนย์มิติ ([[อนุภาคจุด|อนุภาค]]) ซึ่งเป็นพื้นฐานของ[[แบบจำลองมาตรฐาน]]ของ[[ฟิสิกส์อนุภาค]] นักทฤษฎีสตริงนั้นพยายามที่จะปรับแบบจำลองมาตรฐาน โดยการยกเลิกสมมุติฐานในควันตัมแมคานิกส์ ที่ว่าอนุภาคนั้นเป็นเหมือนจุด ในการยกเลิกสมมุติฐานดังกล่าว และแทนที่อนุภาคคล้ายจุดด้วยสตริงหรือสาย ทำให้มีความหวังว่าทฤษฎีสตริงจะพัฒนาไปสู่ทฤษฎีสนามโน้มถ่วงควันตัมที่เข้าใจได้ง่าย นอกจากนี้ทฤษฎีสตริงยังปรากฏว่าสามารถที่จะ "รวม" แรงธรรมชาติที่รู้จักทั้งหมด (แรงโน้มถ้วง, แรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงอันตรกิริยาแบบอ่อน และแรงอันตรกิริยาแบบเข้ม) โดยการบรรยายด้วยชุดสมการเดียวกัน</br>ทฤษฎีสตริงถือเป็นทฤษฎีที่อาจเป็น[[ทฤษฎีโน้มถ่วงเชิงควอนตัม]]ที่ถูกต้องแต่ยังมีทฤษฎีอื่นๆที่ถือว่าเป็นคู่แข่ง เช่น [[ความโน้มถ่วงเชิงควอนตัมแบบลูป]](Loop Quantum Gravity:[[LQG]] หรือ Quantum General RelativityQGR) , ไดนามิกส์แบบคอสชวลของสามเหลี่ยม (Causual Dynamics Triangulation:[[CDT]]) ,[[ซุเปอร์กวาวิตี]](Supergravity) เป็นต้น





รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:47, 2 เมษายน 2552

อันตรกิริยาในโลกอนุภาคย่อยของอะตอม : world line of pointlike particles in the Standard Model or a world sheet swept up by closed strings in string theory

ทฤษฎีสตริง เป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ สำหรับฟิสิกส์เชิงทฤษฎี ที่มี บล็อกโครงสร้าง (building blocks) เป็นวัตถุขยายมิติเดียว (สตริง) แทนที่จะเป็นจุดศูนย์มิติ (อนุภาค) ซึ่งเป็นพื้นฐานของแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์อนุภาค นักทฤษฎีสตริงนั้นพยายามที่จะปรับแบบจำลองมาตรฐาน โดยการยกเลิกสมมุติฐานในควันตัมแมคานิกส์ ที่ว่าอนุภาคนั้นเป็นเหมือนจุด ในการยกเลิกสมมุติฐานดังกล่าว และแทนที่อนุภาคคล้ายจุดด้วยสตริงหรือสาย ทำให้มีความหวังว่าทฤษฎีสตริงจะพัฒนาไปสู่ทฤษฎีสนามโน้มถ่วงควันตัมที่เข้าใจได้ง่าย นอกจากนี้ทฤษฎีสตริงยังปรากฏว่าสามารถที่จะ "รวม" แรงธรรมชาติที่รู้จักทั้งหมด (แรงโน้มถ้วง, แรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงอันตรกิริยาแบบอ่อน และแรงอันตรกิริยาแบบเข้ม) โดยการบรรยายด้วยชุดสมการเดียวกัน
ทฤษฎีสตริงถือเป็นทฤษฎีที่อาจเป็นทฤษฎีโน้มถ่วงเชิงควอนตัมที่ถูกต้องแต่ยังมีทฤษฎีอื่นๆที่ถือว่าเป็นคู่แข่ง เช่น ความโน้มถ่วงเชิงควอนตัมแบบลูป(Loop Quantum Gravity:LQG หรือ Quantum General RelativityQGR) , ไดนามิกส์แบบคอสชวลของสามเหลี่ยม (Causual Dynamics Triangulation:CDT) ,ซุเปอร์กวาวิตี(Supergravity) เป็นต้น