ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากแหว่งเพดานโหว่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล โรค | Name = ปากแหว่งเพดานโหว่<br> (Cleft lip and palate) | Image = 13900470 …
 
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


'''ปากแหว่ง''' ({{lang-en|cleft lip}}; {{lang-la|cheiloschisis}}) และ'''เพดานโหว่''' ({{lang-en|cleft palate}}; {{lang-la|palatoschisis}}) หรือมักเรียกรวมกันว่า'''ปากแหว่งเพดานโหว่''' เป็น[[ความผิดปกติแต่กำเนิด]]ของการเจริญของใบหน้าระหว่าง[[การตั้งครรภ์]] การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดย[[การผ่าตัด]]ทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน
'''ปากแหว่ง''' ({{lang-en|cleft lip}}; {{lang-la|cheiloschisis}}) และ'''เพดานโหว่''' ({{lang-en|cleft palate}}; {{lang-la|palatoschisis}}) หรือมักเรียกรวมกันว่า'''ปากแหว่งเพดานโหว่''' เป็น[[ความผิดปกติแต่กำเนิด]]ของการเจริญของใบหน้าระหว่าง[[การตั้งครรภ์]] การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดย[[การผ่าตัด]]ทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน

== ปากแหว่ง ==
ถ้ารอยแยกนั้นไม่ถึงส่วนเพดานปาก จะเรียกความผิดปกตินี้ว่า '''ปากแหว่ง''' หากเกิดที่ด้านบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน (partial or incomplete cleft) แต่หากรอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์ (complete cleft) ปากแหว่งอาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ปากแหว่งมีสาเหตุจากการเชื่อมของ[[ขากรรไกรบน]]และ[[ส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง]] (medial nasal processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากปฐมภูมิ]] (primary palate) ไม่สมบูรณ์

<center>
<gallery>
ไฟล์:CleftLip1.svg|Unilateral incomplete
ไฟล์:Cleftlip2.svg|Unilateral complete
ไฟล์:CleftLip3.png|Bilateral complete
</gallery>
</center>

A mild form of a cleft lip is a '''microform cleft'''. A microform cleft can appear as small as a little dent in the red part of the lip or look like a scar from the lip up to the nostril. In some cases [[Orbicularis oris muscle|muscle tissue in the lip]] underneath the scar is affected and might require reconstructive surgery. It is advised to have newborn infants with a microform cleft checked with a [[craniofacial team]] as soon as possible to determine the severeness of the cleft.

<center>
<gallery>
ไฟล์:Cleftbefore.jpg| 3 month old boy before going into surgery to have his unilateral incomplete cleft lip repaired.
ไฟล์:Cleftafter.jpg|The same boy, 1 month after the surgery.
ไฟล์:Cleftafter2years.jpg|Again the same boy, age 1.5 years old. Note how the scar gets less visible with age.
</gallery>
</center>

<center>
<gallery>
ไฟล์:13900470_3PREOPERATION0.jpg|6 month old girl before going into surgery to have her unilateral complete cleft lip repaired.
ไฟล์:10_months.jpg|The same girl, 1 month after the surgery.
ไฟล์:66_months.jpg|Again the same girl, age 5.4 years old. Note how the scar gets less visible with age.
</gallery>
</center>



== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:16, 24 มีนาคม 2552

ปากแหว่งเพดานโหว่
(Cleft lip and palate)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10Q35-Q37
ICD-9749
DiseasesDB29604 29414
eMedicineped/2679

ปากแหว่ง (อังกฤษ: cleft lip; ละติน: cheiloschisis) และเพดานโหว่ (อังกฤษ: cleft palate; ละติน: palatoschisis) หรือมักเรียกรวมกันว่าปากแหว่งเพดานโหว่ เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดของการเจริญของใบหน้าระหว่างการตั้งครรภ์ การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดยการผ่าตัดทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน

ปากแหว่ง

ถ้ารอยแยกนั้นไม่ถึงส่วนเพดานปาก จะเรียกความผิดปกตินี้ว่า ปากแหว่ง หากเกิดที่ด้านบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน (partial or incomplete cleft) แต่หากรอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์ (complete cleft) ปากแหว่งอาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ปากแหว่งมีสาเหตุจากการเชื่อมของขากรรไกรบนและส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง (medial nasal processes) เพื่อเป็นเพดานปากปฐมภูมิ (primary palate) ไม่สมบูรณ์

A mild form of a cleft lip is a microform cleft. A microform cleft can appear as small as a little dent in the red part of the lip or look like a scar from the lip up to the nostril. In some cases muscle tissue in the lip underneath the scar is affected and might require reconstructive surgery. It is advised to have newborn infants with a microform cleft checked with a craniofacial team as soon as possible to determine the severeness of the cleft.


แหล่งข้อมูลอื่น