ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มากูระโนะโซชิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''มะคุระ โนะ โซชิ''' (枕草子 ,Makura no Sōshi,The Pillow Book)หรือ ''หนังสือข้างหมอน'' เป็นบทประพันธ์ของ [[เซ โชนะงน]] ที่บันทึกเหตุการณ์ต่างๆที่น่าสนใจในราชสำนักเฮอัน ขณะที่เธอทำงานเป็นนางกำนัลถวายการับใช้ใกล้ชิดจักรพรรดินีเทชิ ( ซะดะโกะ ) ระหว่างช่วง ปี ค.ศ. 990 ถึง 1000 และหนังือเล่มนี้เขียนจบในราวปี ค.ศ. 1002
'''มะคุระ โนะ โซชิ''' (枕草子 ,Makura no Sōshi,The Pillow Book)หรือ ''หนังสือข้างหมอน'' เป็นบทประพันธ์ของ [[เซ โชนะงน]] ที่บันทึกเหตุการณ์ต่างๆที่น่าสนใจในราชสำนักเฮอัน ขณะที่เธอทำงานเป็นนางกำนัลถวายการับใช้ใกล้ชิดจักรพรรดินีเทชิ ( ซะดะโกะ ) ระหว่างช่วง ปี ค.ศ. 990 ถึง 1000 และหนังือเล่มนี้เขียนจบในราวปี ค.ศ. 1002


ใน '''มะคุระ โนะ โซชิ''' นั้น [[เซ โชนะงน]] ได้เขียนรวบรวม รายนามของสิ่งต่างๆ ความคิดส่วนตัว เหตุการณ์น่าสนใจในราชสำนักเฮอัน บทร้อยกรอง ข่าวซุบซิบ ถึงจะเป็นเหมือนงานเขียนเรื่องส่วนตัว ทว่า ความปราดเปรื่องในเชิงกวีของเธอ ทำให้ผลงานชิ้นนี้กลายเป็น วรรณกรรม และมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ ส่วนหนึ่งของงานเขียนนี้ได้ถูกเปิดเผยโดยบังเอิญขณะที่เธอยังมีชีวิตอยู่ในราชสำนัก ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษครั้งแรกในอังกฤษในปี ค.ศ. 1889 โดย ที เพอร์เชล และ ดับบลิวจี แอสตัน (T. Purcell and W.G. Aston) และ ฉบับแปลภาษาอังกฤษที่มีชื่อเสียงอีกฉบับหนึ่งคือ ฉบับที่แปลโดย อิแวน มอร์ริส (Ivan Morris ) ในปี 1967 และ ฉบับที่แปลโดย เมเรดิธ แมคคินนีย์ (Meredith McKinney)ในปี ค.ศ. 2006
ใน '''มะคุระ โนะ โซชิ''' นั้น [[เซ โชนะงน]] ได้เขียนรวบรวม รายนามของสิ่งต่างๆ ความคิดส่วนตัว เหตุการณ์น่าสนใจในราชสำนักเฮอัน บทร้อยกรอง ข่าวซุบซิบ ถึงจะเป็นเหมือนงานเขียนเรื่องส่วนตัว ทว่า ความปราดเปรื่องในเชิงกวีของเธอ ทำให้ผลงานชิ้นนี้กลายเป็น วรรณกรรม และมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ ส่วนหนึ่งของงานเขียนนี้ได้ถูกเปิดเผยโดยบังเอิญขณะที่เธอยังมีชีวิตอยู่ในราชสำนัก ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษครั้งแรกในอังกฤษในปี ค.ศ. 1889 โดย ที เพอร์เชล และ ดับบลิวจี แอสตัน (T. Purcell and W.G. Aston) และ ฉบับแปลภาษาอังกฤษที่มีชื่อเสียงอีกฉบับหนึ่งคือ ฉบับที่แปลโดย อิแวน มอร์ริส (Ivan Morris ) ในปี 1967 และ ฉบับที่แปลโดย เมเรดิธ แมคคินนีย์ (Meredith McKinney)ในปี ค.ศ. 2006<ref>[http://en.wikipedia.org/wiki/The_Pillow_Book" The Pillow Book "]. [[วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ]].</ref>






รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:12, 1 มีนาคม 2552

มะคุระ โนะ โซชิ (枕草子 ,Makura no Sōshi,The Pillow Book)หรือ หนังสือข้างหมอน เป็นบทประพันธ์ของ เซ โชนะงน ที่บันทึกเหตุการณ์ต่างๆที่น่าสนใจในราชสำนักเฮอัน ขณะที่เธอทำงานเป็นนางกำนัลถวายการับใช้ใกล้ชิดจักรพรรดินีเทชิ ( ซะดะโกะ ) ระหว่างช่วง ปี ค.ศ. 990 ถึง 1000 และหนังือเล่มนี้เขียนจบในราวปี ค.ศ. 1002

ใน มะคุระ โนะ โซชิ นั้น เซ โชนะงน ได้เขียนรวบรวม รายนามของสิ่งต่างๆ ความคิดส่วนตัว เหตุการณ์น่าสนใจในราชสำนักเฮอัน บทร้อยกรอง ข่าวซุบซิบ ถึงจะเป็นเหมือนงานเขียนเรื่องส่วนตัว ทว่า ความปราดเปรื่องในเชิงกวีของเธอ ทำให้ผลงานชิ้นนี้กลายเป็น วรรณกรรม และมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ ส่วนหนึ่งของงานเขียนนี้ได้ถูกเปิดเผยโดยบังเอิญขณะที่เธอยังมีชีวิตอยู่ในราชสำนัก ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษครั้งแรกในอังกฤษในปี ค.ศ. 1889 โดย ที เพอร์เชล และ ดับบลิวจี แอสตัน (T. Purcell and W.G. Aston) และ ฉบับแปลภาษาอังกฤษที่มีชื่อเสียงอีกฉบับหนึ่งคือ ฉบับที่แปลโดย อิแวน มอร์ริส (Ivan Morris ) ในปี 1967 และ ฉบับที่แปลโดย เมเรดิธ แมคคินนีย์ (Meredith McKinney)ในปี ค.ศ. 2006[1]


ลักษณะโดยรวมของผลงาน

โดยทั่วไปแล้ว มะคุระ โนะ โซชิ เป็นการรวบรวมบันทึก บทความ ที่แสดงถึงยุคสมัย และการใช้ชีวิต ของผู้เขียน โดยแบ่งเป็นส่วนต่างๆ 320 ส่วน ที่มีเนื้อหาไม่เกี่ยวข้องกับ ประกอบด้วยบันทึกความทรงจำ ความคิดเห็นต่อเรื่องต่างๆ แบบร่างของจินตนาการ รายชื่อของสิ่งต่างๆ การวิพากย์วิจาร์ณเรื่องต่างๆ รายชื่อของคำ โดยไม่เรียงตามลำดับเวลา เนื่องจาก ต้นฉบับที่เก่าแก่ที่สุดที่พบนั้นเป็นของปี ค.ศ. 1500 จึงไม่สามารถที่จะรู้ว่า มะคุระ โนะ โซชิ ในรูปแบบที่ผู้เขียนเรียบเรียงไว้จริงๆนั้นเป็นรูปแบบใด [2]


อ้างอิง

  1. " The Pillow Book ". วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ.
  2. " Sei Shōnagon ". Other Women's Voices.