ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 70"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 102: บรรทัด 102:
===ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม===
===ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม===
''' ''[[ไททานิก (ภาพยนตร์)|ไททานิก]] - [[Gary Rydstrom]] , [[Tom Johnson]], [[Gary Summers]] และ [[Mark Ulano]]'' '''
''' ''[[ไททานิก (ภาพยนตร์)|ไททานิก]] - [[Gary Rydstrom]] , [[Tom Johnson]], [[Gary Summers]] และ [[Mark Ulano]]'' '''
* ''[[Air Force One (film)|Air Force One]]''
* ''[[ฝ่านาทีวิกฤตกู้โลก]]'' (Air Force One)
* ''[[ปฏิบัติการแหกนรกยึดฟ้า]]'' (Con Air)
* ''[[Con Air]]''
* ''[[Contact (film)|Contact]]''
* ''[[Contact (film)|Contact]]''
* ''[[ดับโหด แอล.เอ. เมืองคนโฉด]]'' (L.A. Confidential)
* ''[[ดับโหด แอล.เอ. เมืองคนโฉด]]'' (L.A. Confidential)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:05, 21 กุมภาพันธ์ 2552

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 70
วันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1998
สถานที่ Shrine Auditorium
ลอสแอนเจลิส
พิธีกร Billy Crystal
โปรดิวเซอร์ Gil Cates
ผู้กำกับงาน Louis J. Horvitz
ภาพยนตร์ที่น่าสนใจ
สถานีโทรทัศน์ที่แพร่ภาพออกอากาศ
ช่อง ABC
ความยาว 3 ชั่วโมง 45 นาที
จำนวนผู้ชม 57.25 ล้านคน
35.32 (Nielsen ratings)
 < ครั้งที่ 69 รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 71 > 

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 70 ได้รับการจดบันทึกสถิติสูงสุดอีกครั้ง เมื่อภาพยนตร์เรื่อง ไททานิก สามารถคว้ารางวัลออสการ์ไปถึง 11 รางวัล รวมถึงรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และ Billy Crystal ได้ทำหน้าที่พิธีกรในงานเป็นครั้งที่ 6 และทำให้เขาได้รับรางวัลเอ็มมีจากความสามารถของเขาเอง

ไททานิก ได้รับรางวัลออสการ์ถึง 11 รางวัล จาก 14 สาขาที่ได้เข้าชิงรางวัล ภาพยนตร์เรื่องนี้สามารถทำสถิติเข้าชิงรางวัลมากที่สุดเท่ากับภาพยนตร์เรื่อง All About Eve ในปี ค.ศ. 1950 และได้รับรางวัลมากที่สุดเท่ากับภาพยนตร์เรื่อง Ben-Hur ในปี ค.ศ. 1959 ซึ่งภาพยนตร์เรื่อง ลอร์ดออฟเดอะริงส์: มหาสงครามชิงพิภพ ก็สามารถทำสถิติได้รับรางวัล 11 รางวัลเช่นกันในปี ค.ศ. 2004



ผู้ที่ได้รับรางวัลและชื่อผู้ได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัล

ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

ไททานิก

นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม

As Good as It Gets - แจ็ก นิโคลสัน

นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม

As Good as It Gets - เฮเลน ฮันท์

นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม

เพียงเธอรักนี้ดีสุดแล้ว (As Good as It Gets) - โรบิน วิลเลียมส์

นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

ดับโหด แอล.เอ. เมืองคนโฉด (L.A. Confidential) - Kim Basinger

ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

ไททานิก - James Cameron

บทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม

Good Will Hunting - แม็ตต์ เดม่อน และ เบน แอฟเฟล็ก

บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม

ดับโหด แอล.เอ. เมืองคนโฉด (L.A. Confidential) - Brian Helgeland และ Curtis Hanson

ถ่ายภาพยอดเยี่ยม

ไททานิก - Russell Carpenter

กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม

ไททานิก - Peter Lamont และ Michael Ford

ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม

ไททานิก - Deborah Lynn Scott

ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

ไททานิก - Gary Rydstrom , Tom Johnson, Gary Summers และ Mark Ulano

ลำดับเสียงยอดเยี่ยม

ไททานิก - Conrad Buff IV , James Cameron และ Richard A. Harris

กำกับเสียงยอดเยี่ยม

ไททานิก - Tom Bellfort และ Christopher Boyes

เทคนิคพิเศษยอดเยี่ยม

ไททานิก - Robert Legato , Mark A. Lasoff , Thomas L. Fisher และ Michael Kanfer

แต่งหน้ายอดเยี่ยม

Men in Black - Rick Baker และ David LeRoy Anderson

เพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

Titanic - เซลีน ดิออน ในบทเพลง My Heart Will Go On

Best Music, Original Dramatic Score

ไททานิก - James Horner

Best Music, Original Musical or Comedy Score

ผู้ชายจ้ำเบ๊อะ (The Full Monty) - Anne Dudley

ภาพยนตร์แอนิเมชันขนาดสั้นยอดเยี่ยม

Geri's Game

ภาพยนตร์ขนาดสั้นยอดเยี่ยม

Visas and Virtue - Chris Tashima และ Chris Donahue

ภาพยนตร์สารคดีขนาดสั้นยอดเยี่ยม

A Story of Healing

ภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม

The Long Way Home

ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม

Karakter - ประเทศเนเธอร์แลนด์

รางวัลออสการ์เกียรติยศ

Stanley Donen ได้รับรางวัลออสการ์เกียรติยศ for his years as a director on such musicals including Singin' in the Rain.