ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเหลียวมู่จง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
ในรัชกาลของพระองค์มีข่าวลือว่าเกิดกบฏและโรคระบาดขึ้น ซึ่งเป็นการปล่อยข่าวจากฝ่ายตรงข้ามกับพระองค์ ซึ่งก็คือราชสกุลเย่ว์ลี่ทั้ง 2 สายของพระองค์และสกุลเซี่ยวของพระชายาเซี่ยว
ในรัชกาลของพระองค์มีข่าวลือว่าเกิดกบฏและโรคระบาดขึ้น ซึ่งเป็นการปล่อยข่าวจากฝ่ายตรงข้ามกับพระองค์ ซึ่งก็คือราชสกุลเย่ว์ลี่ทั้ง 2 สายของพระองค์และสกุลเซี่ยวของพระชายาเซี่ยว
และโปรดให้ปลดขุนนางที่เคยรับราชการในรัชสมัย[[จักรพรรดิเหลียวซื่อจง]]ออกจนหมดและทรงโปรดให้ใช้กองทัพนี้ป้องกันการกบฏจากฝั่งตรงข้ามของพระองค์และทรงใช้ความโหดร้าย
และโปรดให้ปลดขุนนางที่เคยรับราชการในรัชสมัย[[จักรพรรดิเหลียวซื่อจง]]ออกจนหมดและทรงโปรดให้ใช้กองทัพนี้ป้องกันการกบฏจากฝั่งตรงข้ามของพระองค์และทรงใช้ความโหดร้าย
ในการปกครองกองทัพนี้ทรงใช้ความมั่นคงและความมั่นคงในการปกครองบ้านเมืองในเดือนมิถุนายน ค.ศ.[[952]](พ.ศ.[[1495]]) มีพระปิตุลา (อา) พระองค์หนึ่ง
ในการปกครองกองทัพนี้ทรงใช้ความมั่นคงและความมั่นคงในการปกครองบ้านเมืองในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 952 (พ.ศ. 1495) มีพระปิตุลา (อา) พระองค์หนึ่ง
ได้ทรงเขียนจดหมายไปยัง[[ราชวงศ์โฮ่วโจว]]เนื้อความบอกว่า "มู่จงนั้นเป็นคนเมาและไม่มีความทะเยอทะยาน" แต่เหลียวมู่จงนั้นได้ค้นพบจดหมายฉบับนี้และสั่งประหารพระปิตุลาองค์นั้น
ได้ทรงเขียนจดหมายไปยัง[[ราชวงศ์โฮ่วโจว]]เนื้อความบอกว่า "มู่จงนั้นเป็นคนเมาและไม่มีความทะเยอทะยาน" แต่เหลียวมู่จงนั้นได้ค้นพบจดหมายฉบับนี้และสั่งประหารพระปิตุลาองค์นั้น
เดือนต่อมาทรงสั่งประหารพระเชษฐาหรือพระราชอนุชาของจักรพรรดิองค์ก่อนองค์หนึ่งคือเย่ว์ลี่หลูกัวที่พยายามก่อกบฏแต่เหลียวมู่จงทรงปราบได้ต่อมาเดือนตุลาคม ค.ศ. 953 (พ.ศ. 1496)
เดือนต่อมาทรงสั่งประหารพระเชษฐาหรือพระราชอนุชาของจักรพรรดิองค์ก่อนองค์หนึ่งคือเย่ว์ลี่หลูกัวที่พยายามก่อกบฏแต่เหลียวมู่จงทรงปราบได้ต่อมาเดือนตุลาคม ค.ศ. 953 (พ.ศ. 1496)
มีเชื้อพระวงศ์ทั้งพระเชษฐาพระราชอนุชาและขุนนางข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หลายคนวางแผนก่อกบฏแต่เหลียวมู่จงทรงค้นพบแผนนี้จึงสั่งประหารขุนนางเหล่านั้นส่วนเชื้อพระวงศ์เหล่านั้นให้
มีเชื้อพระวงศ์ทั้งพระเชษฐาพระราชอนุชาและขุนนางข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หลายคนวางแผนก่อกบฏแต่เหลียวมู่จงทรงค้นพบแผนนี้จึงสั่งประหารขุนนางเหล่านั้นส่วนเชื้อพระวงศ์เหล่านั้นให้
คุมขังแทนการประหารและเหตุการณ์คล้ายคลึงนี้ได้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 959 (พ.ศ. 1502) เมื่อเชื้อพระวงศ์ชุดเดิมได้รับการปล่อยตัวแต่ผู้ก่อการถูกฆ่าหมด
คุมขังแทนการประหารและเหตุการณ์คล้ายคลึงนี้ได้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 959 (พ.ศ. 1502) เมื่อเชื้อพระวงศ์ชุดเดิมได้รับการปล่อยตัวแต่ผู้ก่อการถูกฆ่าหมด
จักรพรรดิเหลียวมู่จงทรงสวรรคตด้วยการถูกปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 969 (พ.ศ. 1512) ขณะพระชนม์เพียง 38 พรรษาเย่ว์ลี่เสียนพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวซื่อจงขึ้นครองราชย์
จักรพรรดิเหลียวมู่จงทรงสวรรคตด้วยการถูกปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 969 (พ.ศ. 1512) ขณะพระชนม์เพียง 38 พรรษาเย่ว์ลี่เสียนพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวซื่อจงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาทรงมีพระนามว่า[[จักรพรรดิเหลียวจิ่งจง]]
สืบต่อมาทรงพระนามว่า[[จักรพรรดิเหลียวจิ่งจง]]





{{สืบราชสมบัติ
{{สืบราชสมบัติ
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิเหลียวซื่อ่จง]]
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิเหลียวซื่อจง]]
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์เหลียว
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์เหลียว
บรรทัด 25: บรรทัด 21:
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เหลียว]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เหลียว]]

[[en:Emperor Muzong Of Liao]]
[[en:Emperor Muzong Of Liao]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:02, 14 กุมภาพันธ์ 2552

สมเด็จพระจักรพรรดิเหลียวมู่จง (ค.ศ. 931-969) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์เหลียว เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวไท่จง ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 951-969 สืบต่อจากจักรพรรดิเหลียวซื่อจงที่ถูกปลงพระชนม์ไปตั้งแต่ ค.ศ. 951 (พ.ศ. 1494)

กบฏ

ในรัชกาลของพระองค์มีข่าวลือว่าเกิดกบฏและโรคระบาดขึ้น ซึ่งเป็นการปล่อยข่าวจากฝ่ายตรงข้ามกับพระองค์ ซึ่งก็คือราชสกุลเย่ว์ลี่ทั้ง 2 สายของพระองค์และสกุลเซี่ยวของพระชายาเซี่ยว และโปรดให้ปลดขุนนางที่เคยรับราชการในรัชสมัยจักรพรรดิเหลียวซื่อจงออกจนหมดและทรงโปรดให้ใช้กองทัพนี้ป้องกันการกบฏจากฝั่งตรงข้ามของพระองค์และทรงใช้ความโหดร้าย ในการปกครองกองทัพนี้ทรงใช้ความมั่นคงและความมั่นคงในการปกครองบ้านเมืองในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 952 (พ.ศ. 1495) มีพระปิตุลา (อา) พระองค์หนึ่ง ได้ทรงเขียนจดหมายไปยังราชวงศ์โฮ่วโจวเนื้อความบอกว่า "มู่จงนั้นเป็นคนเมาและไม่มีความทะเยอทะยาน" แต่เหลียวมู่จงนั้นได้ค้นพบจดหมายฉบับนี้และสั่งประหารพระปิตุลาองค์นั้น เดือนต่อมาทรงสั่งประหารพระเชษฐาหรือพระราชอนุชาของจักรพรรดิองค์ก่อนองค์หนึ่งคือเย่ว์ลี่หลูกัวที่พยายามก่อกบฏแต่เหลียวมู่จงทรงปราบได้ต่อมาเดือนตุลาคม ค.ศ. 953 (พ.ศ. 1496) มีเชื้อพระวงศ์ทั้งพระเชษฐาพระราชอนุชาและขุนนางข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หลายคนวางแผนก่อกบฏแต่เหลียวมู่จงทรงค้นพบแผนนี้จึงสั่งประหารขุนนางเหล่านั้นส่วนเชื้อพระวงศ์เหล่านั้นให้ คุมขังแทนการประหารและเหตุการณ์คล้ายคลึงนี้ได้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 959 (พ.ศ. 1502) เมื่อเชื้อพระวงศ์ชุดเดิมได้รับการปล่อยตัวแต่ผู้ก่อการถูกฆ่าหมด จักรพรรดิเหลียวมู่จงทรงสวรรคตด้วยการถูกปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 969 (พ.ศ. 1512) ขณะพระชนม์เพียง 38 พรรษาเย่ว์ลี่เสียนพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวซื่อจงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาทรงมีพระนามว่าจักรพรรดิเหลียวจิ่งจง


|- style="text-align: center; vertical-align: middle;" | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | จักรพรรดิเหลียวซื่อจง | rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 40%; padding: .5em 0; background-color: inherit;" | จักรพรรดิจีน
(พ.ศ. 1494 - พ.ศ. 1512) | rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | จักรพรรดิเหลียวจิ่งจง