ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซอยเดียวกัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
{{วิกิประเทศไทย}}
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
หนังสือ'''ซอยเดียวกัน''' เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้น แต่งโดย [[วาณิช จรุงกิจอนันต์]] ได้รับ[[รางวัลซีไรต์]]ในปี[[พ.ศ. 2527]]
'''ซอยเดียวกัน''' เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้น แต่งโดย [[วาณิช จรุงกิจอนันต์]] ได้รับ[[รางวัลซีไรต์]] [[พ.ศ. 2527]]


==ประวัติหนังสือ==
==ประวัติหนังสือ==
หนังสือเรื่องซอยเดียวกันนี้ เกิดจากความตั้งใจของวาณิช จรุงกิจอนันต์ผู้เขียนที่ต้องการจะมีหนังสือรวมเรื่องสั้นเป็นของตนเอง เนื่องจากผู้เขียนให้ความสำคัญกับคำว่า "นักเขียน" มาก จึงรู้สึกกระดากปากที่จะเรียกตัวเองเช่นนั้น จนเมื่อได้ออกหนังสือเรื่องซอยเดียวกัน ผู้เขียนได้กล่าวไว้ในคำนำว่า “ผมเขียนหนังสือรวมพิมพ์เป็นเล่มมาแล้วหลายเล่ม แต่กล่าวได้ว่าเล่มที่ทำให้ผมรู้สึกว่าเป็นนักเขียนโดยสมบูรณ์คือเล่มนี้ เล่มที่ให้ชื่อว่าซอยเดียวกันนี้ ”
หนังสือเรื่องซอยเดียวกันนี้ เกิดจากความตั้งใจของวาณิช จรุงกิจอนันต์ผู้เขียนที่ต้องการจะมีหนังสือรวมเรื่องสั้นเป็นของตนเอง เนื่องจากผู้เขียนให้ความสำคัญกับคำว่า "นักเขียน" มาก จึงรู้สึกกระดากปากที่จะเรียกตัวเองเช่นนั้น จนเมื่อได้ออกหนังสือเรื่องซอยเดียวกัน ผู้เขียนได้กล่าวไว้ในคำนำว่า “ผมเขียนหนังสือรวมพิมพ์เป็นเล่มมาแล้วหลายเล่ม แต่กล่าวได้ว่าเล่มที่ทำให้ผมรู้สึกว่าเป็นนักเขียนโดยสมบูรณ์คือเล่มนี้ เล่มที่ให้ชื่อว่าซอยเดียวกันนี้”


จากความตั้งใจของผู้เขียนนี่เอง ทำให้ซอยเดียวกันสำเร็จเป็นรูปเล่มในปี[[พ.ศ. 2526]] และหนังสือเล่มนี้ก็เป็น 1 ใน 47 เล่มที่ผ่านเข้าพิจารณา[[รางวัลซีไรต์]] ด้วยเหตุว่าหนังสือเล่มนี้มีกลวิธีการนำเสนอที่แปลกใหม่ กล้าสร้างสรรค์รูปแบบที่แตกต่าง มีเนื้อหาสะท้อนชีวิตได้อย่างโดดเด่น บวกกับฝีมือทางวรรณศิลป์ ทำให้ซอยเดียวกันกลายเป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลซีไรต์ในปี[[พ.ศ. 2527]] ในที่นี้ขอกล่าวตัวอย่าง เรื้องสั้นที่รวบรวมไว้ใน ซอยเดียวกัน บางเรื่อง ดังนี้
จากความตั้งใจของผู้เขียนนี่เอง ทำให้ซอยเดียวกันสำเร็จเป็นรูปเล่มในปี[[พ.ศ. 2526]] และหนังสือเล่มนี้ก็เป็น 1 ใน 47 เล่มที่ผ่านเข้าพิจารณา[[รางวัลซีไรต์]] ด้วยเหตุว่าหนังสือเล่มนี้มีกลวิธีการนำเสนอที่แปลกใหม่ กล้าสร้างสรรค์รูปแบบที่แตกต่าง มีเนื้อหาสะท้อนชีวิตได้อย่างโดดเด่น บวกกับฝีมือทางวรรณศิลป์ ทำให้ซอยเดียวกันกลายเป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลซีไรต์ในปี[[พ.ศ. 2527]] ในที่นี้ขอกล่าวตัวอย่าง เรื้องสั้นที่รวบรวมไว้ใน ซอยเดียวกัน บางเรื่อง ดังนี้


==เรื่องเมืองหลวง==
==เรื่องเมืองหลวง==
บรรทัด 11: บรรทัด 12:
คำประพันธ์ในเรื่องนี้ถ่ายทอดออกมาผ่านความคิดของตัวละคร โดยบรรยายบรรยากาศรอบตัวที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน สามารถเห็นภาพได้และบรรยายความรู้สึกของตนเองควบคู่กันไป ภาษาที่ใช้ก็สื่อความได้ตรงตัวจุดเด่นของเรื่องนี้คือการนำเอา[[เพลงลูกทุ่ง]] ที่เป็นที่นิยมและสอดคล้องกับเรื่องมาเป็นส่วนหนึ่งของการนำไปสู่การจินตนาการความคิดของตัวละคร สะท้อนภาพความจริงของสังคมเมืองหลวงที่เราทุกคนล้วนเจอกันอยู่เป็นประจำ คือ ความเห็นแก่ตัว ชิงดีชิงเด่น การดูถูกเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ซึ่งเรารู้ว่ามันไม่ดีแต่สิ่งเหล่านี้ก็มีอยู่ในทุกคนไม่มากก็น้อย
คำประพันธ์ในเรื่องนี้ถ่ายทอดออกมาผ่านความคิดของตัวละคร โดยบรรยายบรรยากาศรอบตัวที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน สามารถเห็นภาพได้และบรรยายความรู้สึกของตนเองควบคู่กันไป ภาษาที่ใช้ก็สื่อความได้ตรงตัวจุดเด่นของเรื่องนี้คือการนำเอา[[เพลงลูกทุ่ง]] ที่เป็นที่นิยมและสอดคล้องกับเรื่องมาเป็นส่วนหนึ่งของการนำไปสู่การจินตนาการความคิดของตัวละคร สะท้อนภาพความจริงของสังคมเมืองหลวงที่เราทุกคนล้วนเจอกันอยู่เป็นประจำ คือ ความเห็นแก่ตัว ชิงดีชิงเด่น การดูถูกเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ซึ่งเรารู้ว่ามันไม่ดีแต่สิ่งเหล่านี้ก็มีอยู่ในทุกคนไม่มากก็น้อย


[[Category:รางวัลซีไรต์]]
[[หมวดหมู่:รางวัลซีไรต์]]
[[Category:เรื่องสั้น]]
[[หมวดหมู่:เรื่องสั้น]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:04, 1 มิถุนายน 2549

ซอยเดียวกัน เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ซอยเดียวกัน หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ซอยเดียวกัน เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้น แต่งโดย วาณิช จรุงกิจอนันต์ ได้รับรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2527

ประวัติหนังสือ

หนังสือเรื่องซอยเดียวกันนี้ เกิดจากความตั้งใจของวาณิช จรุงกิจอนันต์ผู้เขียนที่ต้องการจะมีหนังสือรวมเรื่องสั้นเป็นของตนเอง เนื่องจากผู้เขียนให้ความสำคัญกับคำว่า "นักเขียน" มาก จึงรู้สึกกระดากปากที่จะเรียกตัวเองเช่นนั้น จนเมื่อได้ออกหนังสือเรื่องซอยเดียวกัน ผู้เขียนได้กล่าวไว้ในคำนำว่า “ผมเขียนหนังสือรวมพิมพ์เป็นเล่มมาแล้วหลายเล่ม แต่กล่าวได้ว่าเล่มที่ทำให้ผมรู้สึกว่าเป็นนักเขียนโดยสมบูรณ์คือเล่มนี้ เล่มที่ให้ชื่อว่าซอยเดียวกันนี้”

จากความตั้งใจของผู้เขียนนี่เอง ทำให้ซอยเดียวกันสำเร็จเป็นรูปเล่มในปีพ.ศ. 2526 และหนังสือเล่มนี้ก็เป็น 1 ใน 47 เล่มที่ผ่านเข้าพิจารณารางวัลซีไรต์ ด้วยเหตุว่าหนังสือเล่มนี้มีกลวิธีการนำเสนอที่แปลกใหม่ กล้าสร้างสรรค์รูปแบบที่แตกต่าง มีเนื้อหาสะท้อนชีวิตได้อย่างโดดเด่น บวกกับฝีมือทางวรรณศิลป์ ทำให้ซอยเดียวกันกลายเป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลซีไรต์ในปีพ.ศ. 2527 ในที่นี้ขอกล่าวตัวอย่าง เรื้องสั้นที่รวบรวมไว้ใน ซอยเดียวกัน บางเรื่อง ดังนี้

เรื่องเมืองหลวง

เมืองหลวง เป็นเรื่องราวของคนต่างจังหวัดที่ต้องมาใช้ชีวิตในกรุงเทพฯ ถ่ายทอดเรื่องราวผ่านความคิดของชายคนหนึ่งที่ต้องเผชิญกับเหตุการณ์เดิมๆในกรุงเทพฯ อย่างรถติด คนเห็นแก่ตัว การดูถูกเพื่อนมนุษย์ที่ทำตัวต่างออกไป สถานการณ์ของเรื่องเริ่มต้นภายในรถเมล์คันหนึ่งช่วงเวลาหลังเลิกงาน ที่ผู้คนต่างยื้อแย่งกันเพื่อให้ได้นั่ง ได้รับความสะดวก สภาพอันน่าอึดอัดบนรถเมล์ยามที่การจราจรติดขัด โดยในเรื่องมีผู้ทำลายความตึงเครียดนั้นโดยการร้องเพลงขึ้นมา บางคนก็มองว่าบ้า บางคนก็ชื่นชม ส่วนตัวละครที่ดำเนินเรื่องนั้นก็จินตนาการชีวิตของตนเองตามเนื้อเพลงที่ร้องขึ้น และหวังที่จะหลุดพ้นวังวนที่วุ่นวายนี้สักที

คำประพันธ์ในเรื่องนี้ถ่ายทอดออกมาผ่านความคิดของตัวละคร โดยบรรยายบรรยากาศรอบตัวที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน สามารถเห็นภาพได้และบรรยายความรู้สึกของตนเองควบคู่กันไป ภาษาที่ใช้ก็สื่อความได้ตรงตัวจุดเด่นของเรื่องนี้คือการนำเอาเพลงลูกทุ่ง ที่เป็นที่นิยมและสอดคล้องกับเรื่องมาเป็นส่วนหนึ่งของการนำไปสู่การจินตนาการความคิดของตัวละคร สะท้อนภาพความจริงของสังคมเมืองหลวงที่เราทุกคนล้วนเจอกันอยู่เป็นประจำ คือ ความเห็นแก่ตัว ชิงดีชิงเด่น การดูถูกเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ซึ่งเรารู้ว่ามันไม่ดีแต่สิ่งเหล่านี้ก็มีอยู่ในทุกคนไม่มากก็น้อย