ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ในทางดาราศาสตร์ '''แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล''' เป...
 
Nallimbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: az, bg, ca, cs, da, de, eo, es, et, eu, fi, fr, fy, gl, he, hu, is, it, ja, ko, lb, lt, lv, mr, nds, nl, no, pl, pt, ro, ru, sk, sl, sv, tr, uk, vi, zh
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
{{โครงดาราศาสตร์}}
{{โครงดาราศาสตร์}}


[[az:Dünyanın heliosentrik sistemi]]
[[bg:Хелиоцентрична система]]
[[ca:Model heliocèntric]]
[[cs:Heliocentrismus]]
[[da:Heliocentrisk]]
[[de:Heliozentrisches Weltbild]]
[[en:Heliocentrism]]
[[en:Heliocentrism]]
[[eo:Suncentrismo]]
[[es:Teoría heliocéntrica]]
[[et:Heliotsentriline maailmasüsteem]]
[[eu:Heliozentrismo]]
[[fi:Aurinkokeskinen maailmankuva]]
[[fr:Héliocentrisme]]
[[fy:Heliosintrisme]]
[[gl:Heliocentrismo]]
[[he:המודל ההליוצנטרי]]
[[hu:Heliocentrikus világkép]]
[[is:Sólmiðjukenningin]]
[[it:Sistema eliocentrico]]
[[ja:地動説]]
[[ko:태양중심설]]
[[lb:Heliozentrescht Weltbild]]
[[lt:Heliocentrizmas]]
[[lv:Heliocentrisms]]
[[mr:सूर्यकेंद्री सिद्धांत]]
[[nds:Heliozentrisch Weltbild]]
[[nl:Heliocentrische theorie]]
[[no:Heliosentrisme]]
[[pl:Heliocentryzm]]
[[pt:Heliocentrismo]]
[[ro:Heliocentrism]]
[[ru:Гелиоцентрическая система мира]]
[[sk:Heliocentrizmus]]
[[sl:Heliocentrični model]]
[[sv:Heliocentrisk världsbild]]
[[tr:Günmerkezlilik]]
[[uk:Геліоцентризм]]
[[vi:Thuyết nhật tâm]]
[[zh:日心说]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:44, 18 มกราคม 2552

ในทางดาราศาสตร์ แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล เป็นทฤษฎีที่ว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Heliocentrism มีที่มาจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า ήλιος Helios = ดวงอาทิตย์ และ κέντρον kentron = ศูนย์กลาง แนวคิดนี้เป็นแนวคิดตรงกันข้ามกับแนวคิดโลกเป็นศูนย์กลางจักรวาล เริ่มขึ้นตั้งแต่ 300 ปีก่อนคริสตกาล นักคิดคนแรกคือชาวกรีกชื่อ Aristarchus แห่ง Samos ได้ริเริ่มแนวคิดที่ว่า โลกเดินทางไปรอบๆ ดวงอาทิตย์ที่อยู่นิ่ง แต่เวลาล่วงเลยไปจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวโปแลนด์ชื่อ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส จึงได้นำเสนอแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่แสดงว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีหลักฐานการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอ กาลิเลอีช่วยสนับสนุน