ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: cy:Adfywiad Gothig
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

{{รอการตรวจสอบ}}
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราชหรือเกี่ยวข้องกับบทความอื่นที่ใช้ ค.ศ. -->
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราชหรือเกี่ยวข้องกับบทความอื่นที่ใช้ ค.ศ. -->
[[ภาพ:Wien Votivkirche um 1900.jpg|thumb|250px|วัดโวทิฟ (Votivkirche) เป็นวัดกอธิคใหม่ที่ [[เวียนนา]]]]
[[ภาพ:Wien Votivkirche um 1900.jpg|thumb|250px|วัดโวทิฟ (Votivkirche) เป็นวัดกอธิคใหม่ที่ [[เวียนนา]]]]
[[ภาพ:House.of.parliament.victower.arp.750pix.jpg|250px|right|thumb|หอวิคตอเรียที่พระราชวังเวสท์มินสเตอร์ (Victoria Tower, Palace of Westminster) [[ลอนดอน]] รายละเอียดกอธิคโดยออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin]]
[[ภาพ:House.of.parliament.victower.arp.750pix.jpg|250px|right|thumb|หอวิคตอเรียที่พระราชวังเวสท์มินสเตอร์ (Victoria Tower, Palace of Westminster) [[ลอนดอน]] รายละเอียดกอธิคโดยออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin]]


'''สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค''' (ภาษาอังกฤษ: Neo-Gothic architecture หรือ Gothic Revival architecture) หรีอ สถาปัตยกรรมวิคตอเรีย (Victorian architecture) เป็นสถาปัตยกรรมที่เริ่มราวปี ค.ศ. 1840 ที่[[อังกฤษ]] เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่นิยมและสนใจสถาปัตยกรรมกอธิคใหม่พยายามฟื้นฟูสถาปัตยกรรม[[ยุคกลาง]] ซึ่งต่างจาก[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมัน]]ที่เป็นที่นิยมกันในสมัยนั้น ความนิยมนี้เผยแพร่ไปทั่ว[[สหราชอาณาจักร]] [[ทวีปยุโรป]] และ[[ทวีปอเมริกา]] กล่าวกันว่าจำนวนสิ่งก่อสร้างแบบฟื้นฟูกอธิคจะมากกว่าสิ่งก่อสร้างแบบกอธิคต้นฉบับเสียด้วยซ้ำ
'''สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค''' ({{lang-en|Neo-Gothic architecture หรือ Gothic Revival architecture}}) หรีอ สถาปัตยกรรมวิคตอเรีย (Victorian architecture) เป็นสถาปัตยกรรมที่เริ่มราวปี ค.ศ. 1840 ที่[[อังกฤษ]] เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่นิยมและสนใจสถาปัตยกรรมกอธิคใหม่พยายามฟื้นฟูสถาปัตยกรรม[[ยุคกลาง]] ซึ่งต่างจาก[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมัน]]ที่เป็นที่นิยมกันในสมัยนั้น ความนิยมนี้เผยแพร่ไปทั่ว[[สหราชอาณาจักร]] [[ทวีปยุโรป]] และ[[ทวีปอเมริกา]] กล่าวกันว่าจำนวนสิ่งก่อสร้างแบบฟื้นฟูกอธิคจะมากกว่าสิ่งก่อสร้างแบบกอธิคต้นฉบับเสียด้วยซ้ำ


สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคได้รับแรงสนับสนุนจากยุคกลางวิทยาซึ่งมีรากฐานมาจากการอยู่รอดของสิ่งที่เป็นกอธิค ทางด้านวรรณคดีสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคและ Romanticism ทำให้เกิดนวนิยายลักษณะกอธิค เช่นเรื่อง “ปราสาทโอทรันโท” โดยฮอเรส วอลโพล เมื่อค.ศ. 1764 หรือ โคลง “Idylls of the King” โดยอัลเฟรด เทนนิสสัน ซึ่งใช้แนวใหม่ในหัวเรื่อง[[พระเจ้าอาเธอร์]]ที่มาจากยุคกลาง ในวรรณคดีเยอรมันีก็เช่นเดียวกัน<ref> W. D. Robson-Scot, ''The Literary Background of the Gothic Revival in Germany''</ref>
สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคได้รับแรงสนับสนุนจากยุคกลางวิทยาซึ่งมีรากฐานมาจากการอยู่รอดของสิ่งที่เป็นกอธิค ทางด้านวรรณคดีสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคและ Romanticism ทำให้เกิดนวนิยายลักษณะกอธิค เช่นเรื่อง “ปราสาทโอทรันโท” โดยฮอเรส วอลโพล เมื่อค.ศ. 1764 หรือ โคลง “Idylls of the King” โดยอัลเฟรด เทนนิสสัน ซึ่งใช้แนวใหม่ในหัวเรื่อง[[พระเจ้าอาเธอร์]]ที่มาจากยุคกลาง ในวรรณคดีเยอรมันีก็เช่นเดียวกัน<ref> W. D. Robson-Scot, ''The Literary Background of the Gothic Revival in Germany''</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:12, 17 มกราคม 2552

วัดโวทิฟ (Votivkirche) เป็นวัดกอธิคใหม่ที่ เวียนนา
หอวิคตอเรียที่พระราชวังเวสท์มินสเตอร์ (Victoria Tower, Palace of Westminster) ลอนดอน รายละเอียดกอธิคโดยออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค (อังกฤษ: Neo-Gothic architecture หรือ Gothic Revival architecture) หรีอ สถาปัตยกรรมวิคตอเรีย (Victorian architecture) เป็นสถาปัตยกรรมที่เริ่มราวปี ค.ศ. 1840 ที่อังกฤษ เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่นิยมและสนใจสถาปัตยกรรมกอธิคใหม่พยายามฟื้นฟูสถาปัตยกรรมยุคกลาง ซึ่งต่างจากสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมันที่เป็นที่นิยมกันในสมัยนั้น ความนิยมนี้เผยแพร่ไปทั่วสหราชอาณาจักร ทวีปยุโรป และทวีปอเมริกา กล่าวกันว่าจำนวนสิ่งก่อสร้างแบบฟื้นฟูกอธิคจะมากกว่าสิ่งก่อสร้างแบบกอธิคต้นฉบับเสียด้วยซ้ำ

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคได้รับแรงสนับสนุนจากยุคกลางวิทยาซึ่งมีรากฐานมาจากการอยู่รอดของสิ่งที่เป็นกอธิค ทางด้านวรรณคดีสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคและ Romanticism ทำให้เกิดนวนิยายลักษณะกอธิค เช่นเรื่อง “ปราสาทโอทรันโท” โดยฮอเรส วอลโพล เมื่อค.ศ. 1764 หรือ โคลง “Idylls of the King” โดยอัลเฟรด เทนนิสสัน ซึ่งใช้แนวใหม่ในหัวเรื่องพระเจ้าอาเธอร์ที่มาจากยุคกลาง ในวรรณคดีเยอรมันีก็เช่นเดียวกัน[1]

อ้างอิง

  1. W. D. Robson-Scot, The Literary Background of the Gothic Revival in Germany

ข้อมูลเพิ่มเติม