ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อธิกวินาที"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
|+ การปรับอธิกวินาที
|+ การปรับอธิกวินาที
|-
|-
! ค.ศ. !! มิ.ย. 30 !! ธ.ค. 31
! ค.ศ. !! 30 มิ.ย. !! 31 ธ.ค.
|-
|-
| 1972 || bgcolor="lime"| || bgcolor="lime"|
| 1972 || bgcolor="lime"| || bgcolor="lime"|
บรรทัด 78: บรรทัด 78:
| 2008 || || bgcolor="lime"|
| 2008 || || bgcolor="lime"|
|-
|-
! ค.ศ. !! มิ.ย. 30 !! ธ.ค. 31
! ค.ศ. !! 30 มิ.ย. !! 31 ธ.ค.
|-
|-
| rowspan="2" | รวม || 9 || 15
| rowspan="2" | รวม || 9 || 15

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:05, 8 มกราคม 2552

การปรับอธิกวินาที
ค.ศ. 30 มิ.ย. 31 ธ.ค.
1972
1973
1974
1975
1976
1977
1978
1979
1980
1981
1982
1983
1984
1985
1986
1987
1988
1989
1990
1991
1992
1993
1994
1995
1996
1997
1998
1999
2000
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
ค.ศ. 30 มิ.ย. 31 ธ.ค.
รวม 9 15
24

อธิกวินาที คือการปรับเวลาเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 วินาที เพื่อรักษามาตรฐานการประกาศเวลาให้ใกล้เคียงกับเวลาสุริยะ (UT1) โดยเฉลี่ย เนื่องด้วยการประกาศเวลามาตรฐานมีพื้นฐานอยู่บนเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ซึ่งรักษาไว้ด้วยนาฬิกาอะตอมที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสูง แต่เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลง อาทิ การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก แผ่นดินไหว ปริมาณน้ำในมหาสมุทร ทำให้อัตราการหมุนของโลกช้าลงหรือเร็วขึ้น ถึงแม้จะเล็กน้อยแต่ก็อาจทำให้เวลาทั้งสองเกิดความแตกต่าง จึงต้องมีการปรับเวลาให้ใกล้เคียงกัน การปรับอธิกวินาทีปัจจุบันควบคุมโดย International Earth Rotation and Reference Systems Service (IERS) ซึ่งก่อนหน้านั้นควบคุมโดย Bureau International de l'Heure (BIH) จนถึง 1 มกราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988)

การปรับอธิกวินาทีจะกระทำเมื่อ UTC แตกต่างจาก UT1 เกิน ±0.9 วินาที และจะถูกกำหนดให้เพิ่มหรือลดเมื่อสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน หรือ 31 ธันวาคม โดยจะประกาศเป็นคราว ๆ ไป (ถึงแม้ว่าอธิกวินาทีสามารถเพิ่มหรือลดในวันไหนก็ได้) ซึ่งจะทำให้นาทีสุดท้ายของวันดังกล่าวเกินมาหรือขาดไป 1 วินาทีตามทฤษฎี อย่างไรก็ตามการปรับอธิกวินาทีที่เคยเกิดขึ้นในอดีต มีเพียงการเพิ่มเวลาเข้าไปอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งจะทำให้เวลา 23:59:60 ปรากฏขึ้น ก่อนที่จะเป็น 0:00:00 ในวินาทีถัดไป และจะเกิดพร้อมกันทั่วโลก (เช่นประเทศไทยจะปรากฏเป็นเวลา 6:59:60) การปรับอธิกวินาทีโดย BIH/IERS เคยเกิดขึ้นมาแล้วทั้งหมด 24 ครั้งนับตั้งแต่ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) และล่าสุดเมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) [1][2]

กราฟแสดงความแตกต่างระหว่าง UT1 กับ UTC ส่วนที่ตั้งชันคืออธิกวินาที

อ้างอิง

  1. Gambis, Daniel (2008-07-04). "Bulletin C 36". Paris: IERS EOP PC, Observatoire de Paris. สืบค้นเมื่อ 2009-01-04. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. Andrea Thompson (08 December 2008). "2008 Will Be Just a Second Longer". Live Science. สืบค้นเมื่อ 29 December 2008. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)