ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรไนโตรโทลูอีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ptbotgourou (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: el:Τρινιτροτολουόλη
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: lv:Trinitrotoluols
บรรทัด 101: บรรทัด 101:
[[ko:트라이나이트로톨루엔]]
[[ko:트라이나이트로톨루엔]]
[[lt:TNT]]
[[lt:TNT]]
[[lv:TNT]]
[[lv:Trinitrotoluols]]
[[mk:ТНТ]]
[[mk:ТНТ]]
[[nl:2,4,6-trinitrotolueen]]
[[nl:2,4,6-trinitrotolueen]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:31, 21 ธันวาคม 2551

Structure Formula
General Information
ชื่อ ไตรไนโตรโทลูอีน
ชื่ออื่น 2-Methyl-1,3,5-trinitrobenzene
2,4,6-Trinitrotoluene
TNT
Trotyl
สูตรอย่างง่าย C7H5N3O6
เลขทะเบียน CAS 118-96-7
PubChem 8376
คุณสมบัติอย่างย่อ สีเหลืองอ่อน, ผลึกรูปเข็ม
Characteristics
น้ำหนักต่อโมล 227.13 g/โมล
น้ำหนักโมเลกุล 227.131 g/โมล
สถานะ ของแข็ง
Shock sensitivity Insensitive
Friction sensitivity Insensitive
ความหนาแน่น 1.654 g/cm³
ความเร็วในการระเบิด 6,900 m/s
RE factor 1.00
จุดหลอมเหลว 80.35 °C
จุดเดือด 295 °C (สลายตัว)
แรงดันไอ 0.057 hPa (81 °C)
การละลาย ละลายได้ดีในอีเธอร์, อะซีโตน, เบนซีน, ละลายในน้ำได้ไม่ดี
Safety References
Hazard symbol
ExplosiveHighly ToxicNature Polluting
R/S Statements

R: 2-23/24/25-33-51/53
S: 35-45-61

TLV 0.1 mg/m³
The widely accepted SI Units have been used here. Unless otherwise indicated, assume the data is measured under Standard conditions for temperature and pressure.

ทีเอ็นที เป็นคำทับศัพท์มาจาก TNT (ย่อจาก Trinitrotoluene) เป็นระเบิดชนิดหนึ่ง มีสูตรอย่างง่าย คือ C7H5N3O6

ชื่อ "ทีเอ็นที" นี้ ตามการเรียกชื่อของIUPAC คือ methyl-1,3,5-trinitrobenzene โดยทั่วไปจะคุ้นกับชื่อ "ไตรไนโตรโทลูอีน" (trinitrotoluene) มากกว่า

สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ ค.ศ. 1863 และการผลิตปริมาณมากครั้งแรก เกิดขึ้นในเยอรมนี เมื่อ ค.ศ. 1891

ด้วยการใช้งานอย่างกว้างขวาง ทำให้ทีเอ็นทีเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการวัดความเข้มของระเบิด และวัตถุระเบิดอื่นๆ โดยเทียบประสิทธิภาพกับทีเอ็นที เรียกว่า "TNT equivalent"


คุณสมบัติ

trinitrotoluene มีลักษณะเป็นผลึกสีเหลือง เรียวคล้ายเข็ม ละลายในน้ำได้น้อยแต่จะละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น ether,acetone,benzene และ pyridine เนื่องจากมีจุดหลอมเหลวต่ำกว่า 80.35°C ดังนั้นจึงสามารถหลอมละลาย TNT โดยใช้ความร้อนจากไอน้ำ TNT มีความเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์เมื่อถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการแพ้ได้

*ความสามารถในการละลายน้ำ: 130 มก/ลิตร ที่อุณหภูมิ 20°C และเมื่อนำสารละลายนี้ไปต้ม จะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง *แรงดันไอน้ำที่ 20°C: 1.5-6 mbar