ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: en:Flag of the Ukrainian Soviet Socialist Republic
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Flag of Ukrainian SSR.svg|thumb|300px|[[ภาพ:FIAV historical.svg|23x15px]] ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (2492–2534)]]
[[ภาพ:Flag of Ukrainian SSR.svg|thumb|300px|[[ภาพ:FIAV historical.svg|23x15px]] ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (2492–2534)]]


'''[[ธงชาติ]][[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน]]''' มีลักษณะคล้าย[[ธงชาติสหภาพโซเวียต]] กล่าวคือ เป็น[[ธงแดง]]รูป[[สี่เหลี่ยมผืนผ้า]] กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูป[[ค้อนเคียว]][[สีทอง]]และ[[ดาวแดง]]ขอบทอง แต่ที่ตอนล่างของธงนั้นมีแถบ[[สีฟ้า]] กว้าง 1 ใน 3 ของความกว้างธงทั้งหมด รูปค้อนเคียวและดาวแดงนั้นประดับไว้เฉพาะที่ธงด้านหน้าเท่านั้น ธงดังกล่าวมานี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2492]] นับเป็นธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนแบบสุดท้ายที่ใช้มาจนถึง[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]]ในปี [[พ.ศ. 2534]] หลังจากนั้นยูเครนจึงได้ประกาศเอกราชและเปลี่ยนธงชาติใหม่เป็น[[ธงชาติยูเครน]]ในปัจจุบัน
'''ธงชาติ[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน]]''' ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ [[พ.ศ. 2462]], ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของโซเวียตยูเครน. ธงชาติผืนปัจจุบันประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ[[พ.ศ. 2534]]หลังจาก[[สหภาพโซเวียตล่มสลาย]], แต่รูปแบบของธงชาติที่ใช้มาจาก [[ธงแดง]]ในช่วง[[การปฏิวัติบอลเชวิก]].


ธงผืนแรก[[พ.ศ. 2466]] - [[พ.ศ. 2470]] มีลักษณะเป็นธงพื้นสีแดง ที่มุมบนธงมีตัว[[อักษรซีริลลิก]] แบบแซนด์-เซอร์ริฟ แบบย่อเขียนว่า У.С.С.Р. (''USSR'', ย่อมาจาก ''Ukrayinskaya Sotsialisticheskaya Sovetskaya Respublika'', ‘Ukrainian SSR’ ในภาษารัสเซีย—เปลี่ยนเมื่อ [[พ.ศ. 2479]]). ในช่วงทศวรรษที่[[พ.ศ. 2473]], มีการเพิ่มขอบสีทอง.
ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเริ่มปรากฎครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2462]] ลักษณะเป็นธงสีแดง มีอักษรซีริลลิย่อนามประเทศว่า ''УССР'' (เทียบเป็นอักษรโรมันคือ USSR โดยย่อมาจากชื่อประเทศในภาษารัสเซียว่า Ukrayinskaya Sotsialisticheskaya Sovetskaya Respublika)ธงลักษณะดังกล่าวได้ใช้สืบมาหลายปีโดยมีการแก้ไขรายละเอียดเล็กน้อยเกี่ยวกับแบบอักษรในปี พ.ศ. 2465 และ พ.ศ. 2470 ในเวลาถัดมาจึงได้มีการเพิ่มกรอบสี่เหลี่ยมสีทองล้อมอักษรย่อนามประเทศไว้ด้วย


ในปี พ.ศ. 2480 แบบธงได้เปลี่ยนแปลงอีกครั้ง โดยยังคงอักษรย่อนามประเทศอย่างเดิมไว้ แต่ยกกรอบสี่เหลี่ยมออกและเพิ่มรูปค้อนเคียวสีทองไว้เหนืออักษรย่อนามประเทศแทน ต่อมาในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2483 จึงมีการแก้ไขแบบธงอีกครั้งโดยย้ายรูปค้อนเคียวลงมาไว้ใต้อักษรย่อนามประเทศแทน ก่อนที่จะมีการแก้ไขแบบธงครั้งสุดท้ายในปี [[พ.ศ. 2492]] ซึ่งมีลักษณะดังบรรยาไว้ตอนต้นบทความ
ธงผืนที่2 พ.ศ. 2470 – [[พ.ศ. 2480]] โดยที่มุมบนคันธงมีตัวอักษรซีริลลิกแบบแซนด์-เซอร์ริฟ แบบย่อว่า "УCPР" ย่อมาจาก URSR, for Ukrayins’ka Sotsialistychna Radyans’ka Respublika in Ukrainian.

ธงผืนที่3 พ.ศ. 2480 – [[พ.ศ. 2483]], ธงผืนใหม่, โดยได้เพิ่มรูป[[ค้อนเคียว]] เหนือตัว[[อักษรชิริลริก]]แบบแซนด์-เซอร์ริฟ อักษรย่อว่า У.Р.С.Р. (''URSR'', ย่อมาจาก ''Ukrayins’ka Radyans’ka Sotsialistychna Respublika'' in Ukrainian).

ธงผืนที่4 [[พ.ศ. 2483]] - [[พ.ศ. 2492]], มีการแก้ไขเล็กน้อยตรงที่รูปค้อนเคียว โดยรูปค้อนเคียววางใต้ตัวอักษร.

ธงชาติผืนที่5 ซึ่งเป็นธงแบบสุดท้ายที่ใช้ในสมัยสหภาพโซเวียต ประกาศใวช้อย่างเป็นทางการเมื่อ[[21 พฤศจิกายน]], [[พ.ศ. 2492]].


<gallery>
<gallery>
ภาพ:Flag of the Ukrainian SSR (1923-1927).svg | ธงชาติโซเวีตยูเครน ผืนที่1 (2466–2470)
ภาพ:Flag of the Ukrainian SSR (1923-1927).svg | ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนแบบแรกสุด (2466–2470)
ภาพ:Flag of the Ukrainian SSR (1927-1937).svg | ธงชาติโซเวียตยูเครน ผืนที่2 (2470–2480)
ภาพ:Flag of the Ukrainian SSR (1927-1937).svg | ธงชาติโซเวียตยูเครน ผืนที่2 (2470–2480)
ภาพ:Flag of Ukrainian SSR (1937-1949).svg | ธงชาติโซเวียตยูเครผืนที่4 (2483–2492)
ภาพ:Flag of Ukrainian SSR (1937-1949).svg | ธงชาติโซเวียตยูเครผืนที่4 (2483–2492)
บรรทัด 21: บรรทัด 15:
== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ธงชาติสหภาพโซเวียต]]
* [[ธงชาติสหภาพโซเวียต]]
* [[ตราแผ่นดินของโซเวียตยูเครน]]
* [[ธงชาติยูเครน]]
* [[ธงชาติยูเครน]]
* [[ธงในประเทศยูเครน]]
* [[ธงในประเทศยูเครน]]
* [[ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.allstates-flag.com/fotw/flags/su-ua_h.html ธงชาติโซเวียตยูเครน (ธงผืนเก่า)], รูแบบรายละเอียดของธง.
* {{FOTW|title=ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน|id=su-ua}}



{{ธงชาติสาธารณรัฐโซเวียต}}
{{ธงชาติสาธารณรัฐโซเวียต}}


{{โครงธงชาติ}}
{{Ukraine-hist-stub}}
{{flag-stub}}


[[หมวดหมู่:Flags of the Soviet Union|Ukrainian SSR]]
[[หมวดหมู่:ธงในประเทศยูเครน]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ยูเครน|Ukrainian SSR, Flag of]]
[[หมวดหมู่:ธงในสหภาพโซเวียต|ยูเครน]]
[[หมวดหมู่:ธงชาติในอดีต]]
[[หมวดหมู่:ธงในสหภาพโซเวียต]]


[[be-x-old:Сьцяг Украінскай ССР]]
[[be-x-old:Сьцяг Украінскай ССР]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:04, 4 ธันวาคม 2551

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (2492–2534)

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน มีลักษณะคล้ายธงชาติสหภาพโซเวียต กล่าวคือ เป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวสีทองและดาวแดงขอบทอง แต่ที่ตอนล่างของธงนั้นมีแถบสีฟ้า กว้าง 1 ใน 3 ของความกว้างธงทั้งหมด รูปค้อนเคียวและดาวแดงนั้นประดับไว้เฉพาะที่ธงด้านหน้าเท่านั้น ธงดังกล่าวมานี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับเป็นธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนแบบสุดท้ายที่ใช้มาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 หลังจากนั้นยูเครนจึงได้ประกาศเอกราชและเปลี่ยนธงชาติใหม่เป็นธงชาติยูเครนในปัจจุบัน

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเริ่มปรากฎครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2462 ลักษณะเป็นธงสีแดง มีอักษรซีริลลิย่อนามประเทศว่า УССР (เทียบเป็นอักษรโรมันคือ USSR โดยย่อมาจากชื่อประเทศในภาษารัสเซียว่า Ukrayinskaya Sotsialisticheskaya Sovetskaya Respublika)ธงลักษณะดังกล่าวได้ใช้สืบมาหลายปีโดยมีการแก้ไขรายละเอียดเล็กน้อยเกี่ยวกับแบบอักษรในปี พ.ศ. 2465 และ พ.ศ. 2470 ในเวลาถัดมาจึงได้มีการเพิ่มกรอบสี่เหลี่ยมสีทองล้อมอักษรย่อนามประเทศไว้ด้วย

ในปี พ.ศ. 2480 แบบธงได้เปลี่ยนแปลงอีกครั้ง โดยยังคงอักษรย่อนามประเทศอย่างเดิมไว้ แต่ยกกรอบสี่เหลี่ยมออกและเพิ่มรูปค้อนเคียวสีทองไว้เหนืออักษรย่อนามประเทศแทน ต่อมาในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2483 จึงมีการแก้ไขแบบธงอีกครั้งโดยย้ายรูปค้อนเคียวลงมาไว้ใต้อักษรย่อนามประเทศแทน ก่อนที่จะมีการแก้ไขแบบธงครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2492 ซึ่งมีลักษณะดังบรรยาไว้ตอนต้นบทความ

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น