ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตรวจพิสูจน์บุคคล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{นิติวิทยาศาสตร์}}
{{นิติวิทยาศาสตร์}}
[[ภาพ:Biometrics traits classification.png|thumb|right|350px|การจำแนกบางส่วนของการตรวจพิสูจน์บุคคล]]
'''การตรวจพิสูจน์บุคคล''' ({{lang-en|biometrics}}) คือการใช้ความรู้ทาง[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]]และ[[วิทยาศาสตร์]]แขนงต่างๆในการตรวจพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคล ว่าบุคคลมีชีวิต [[ศพ]] เศษชิ้นส่วนของศพ [[โครงกระดูก]] เศษชิ้นส่วนกระดูก เลือดหรือเนื้อเยื่อ ตลอดจนคราบต่างๆที่เกิดจากเนื้อเยื่อหรือสารคัดหลั่งจากมนุษย์ เป็นใครหรือเป็นของใคร ความรู้ทางด้านการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากในการระบุตัวของศพหรือบุคคลวิกลจริตหรือหมดสติ และยังนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากในกระบวนการสืบสวนสอบสวนเพื่อยืนยันตัวบุคคลผู้กระทำผิดกฎหมาย
'''การตรวจพิสูจน์บุคคล''' ({{lang-en|biometrics}}) คือการใช้ความรู้ทาง[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]]และ[[วิทยาศาสตร์]]แขนงต่างๆในการตรวจพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคล ว่าบุคคลมีชีวิต [[ศพ]] เศษชิ้นส่วนของศพ [[โครงกระดูก]] เศษชิ้นส่วนกระดูก เลือดหรือเนื้อเยื่อ ตลอดจนคราบต่างๆที่เกิดจากเนื้อเยื่อหรือสารคัดหลั่งจากมนุษย์ เป็นใครหรือเป็นของใคร ความรู้ทางด้านการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากในการระบุตัวของศพหรือบุคคลวิกลจริตหรือหมดสติ และยังนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากในกระบวนการสืบสวนสอบสวนเพื่อยืนยันตัวบุคคลผู้กระทำผิดกฎหมาย


ปัจจุบัน มีวิธีการตรวจพิสูจน์บุคคลหลายวิธี เช่น การใช้ความจำของมนุษย์ จำได้ว่าบุคคลหรือศพที่พบเห็นเป็นใคร โดยใช้เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายเครื่องประดับและรูปพรรณสัณฐานสูงต่ำดำขาว เชื้อชาติ รอยสัก ร่องรอยแผลเป็นและความพิการของร่างกาย ในการยืนยันตัวบุคคล ตลอดจนการใช้วิทยาการภาพเชิงซ้อนมาช่วยในการตรวจพิสูจน์บุคคล แต่ที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นสากล ได้แก่ การตรวจพิสูจน์ยืนยันด้วยเอกลักษณ์ลายพิมพ์นิ้วมือ เอกลักษณ์ฟัน หรือเอกลักษณ์ดีเอ็นเอ อย่างใดอย่างหนึ่ง กล่าวโดยสรุปคือ เราสามารถใช้วิธีการอื่นๆเป็นแนวทาง แล้วใช้ลายพิมพ์นิ้วมือหรือลักษณะฟันหรือดีเอ็นเอเป็นสิ่งยืนยันในการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล
ปัจจุบัน มีวิธีการตรวจพิสูจน์บุคคลหลายวิธี เช่น การใช้ความจำของมนุษย์ จำได้ว่าบุคคลหรือศพที่พบเห็นเป็นใคร โดยใช้เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายเครื่องประดับและรูปพรรณสัณฐานสูงต่ำดำขาว เชื้อชาติ รอยสัก ร่องรอยแผลเป็นและความพิการของร่างกาย ในการยืนยันตัวบุคคล ตลอดจนการใช้วิทยาการภาพเชิงซ้อนมาช่วยในการตรวจพิสูจน์บุคคล แต่ที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นสากล ได้แก่ การตรวจพิสูจน์ยืนยันด้วยเอกลักษณ์ลายพิมพ์นิ้วมือ เอกลักษณ์ฟัน หรือเอกลักษณ์ดีเอ็นเอ อย่างใดอย่างหนึ่ง กล่าวโดยสรุปคือ เราสามารถใช้วิธีการอื่นๆเป็นแนวทาง แล้วใช้ลายพิมพ์นิ้วมือหรือลักษณะฟันหรือดีเอ็นเอเป็นสิ่งยืนยันในการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล
[[ภาพ:Biometrics traits classification.png|thumb|left|350px|การจำแนกบางส่วนของการตรวจพิสูจน์บุคคล]]


[[หมวดหมู่:นิติวิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:นิติวิทยาศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:04, 1 ธันวาคม 2551

นิติวิทยาศาสตร์
ขอบเขตนิติวิทยาศาสตร์
นิติเวชศาสตร์นิติวิศวกรรมศาสตร์
นิติทันตวิทยานิติมานุษยวิทยา
การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์เฉพาะบุคคล
การตรวจพิสูจน์บุคคล
การตรวจหาคราบอสุจิ ตัวอสุจิ
การศึกษาและพิสูจน์บุคคลจากฟัน
เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์
การพิสูจน์หลักฐานการตรวจวัตถุระเบิด
การตรวจภาพเชิงซ้อน
การตรวจทางเคมีการตรวจทางฟิสิกส์
การตรวจทางชีววิทยาการตรวจทางนิติเวช
การตรวจเอกสารการตรวจวัสดุเส้นใย
การตรวจสถานที่เกิดเหตุและการถ่ายรูป
การตรวจลายพิมพ์นิ้วมือ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
การตรวจอาวุธปืนและกระสุนปืนของกลาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ
AFISCDOSPICASSO
หน่วยงานในไทย
กองบังคับการอำนวยการ
พฐ.นิติวิทยาศาสตร์
วิทยาการเขต 1วิทยาการเขต 2
วิทยาการเขต 3วิทยาการเขต 4

การตรวจพิสูจน์บุคคล (อังกฤษ: biometrics) คือการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆในการตรวจพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคล ว่าบุคคลมีชีวิต ศพ เศษชิ้นส่วนของศพ โครงกระดูก เศษชิ้นส่วนกระดูก เลือดหรือเนื้อเยื่อ ตลอดจนคราบต่างๆที่เกิดจากเนื้อเยื่อหรือสารคัดหลั่งจากมนุษย์ เป็นใครหรือเป็นของใคร ความรู้ทางด้านการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากในการระบุตัวของศพหรือบุคคลวิกลจริตหรือหมดสติ และยังนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากในกระบวนการสืบสวนสอบสวนเพื่อยืนยันตัวบุคคลผู้กระทำผิดกฎหมาย

ปัจจุบัน มีวิธีการตรวจพิสูจน์บุคคลหลายวิธี เช่น การใช้ความจำของมนุษย์ จำได้ว่าบุคคลหรือศพที่พบเห็นเป็นใคร โดยใช้เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายเครื่องประดับและรูปพรรณสัณฐานสูงต่ำดำขาว เชื้อชาติ รอยสัก ร่องรอยแผลเป็นและความพิการของร่างกาย ในการยืนยันตัวบุคคล ตลอดจนการใช้วิทยาการภาพเชิงซ้อนมาช่วยในการตรวจพิสูจน์บุคคล แต่ที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นสากล ได้แก่ การตรวจพิสูจน์ยืนยันด้วยเอกลักษณ์ลายพิมพ์นิ้วมือ เอกลักษณ์ฟัน หรือเอกลักษณ์ดีเอ็นเอ อย่างใดอย่างหนึ่ง กล่าวโดยสรุปคือ เราสามารถใช้วิธีการอื่นๆเป็นแนวทาง แล้วใช้ลายพิมพ์นิ้วมือหรือลักษณะฟันหรือดีเอ็นเอเป็นสิ่งยืนยันในการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล

การจำแนกบางส่วนของการตรวจพิสูจน์บุคคล