ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยปารีส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: arz, eu, hy, tr ลบ: bg, da, de, eo, he, ja, ko, pl, ru, sv แก้ไข: nl
บรรทัด 21: บรรทัด 21:


[[ar:جامعة باريس]]
[[ar:جامعة باريس]]
[[arz:جامعة باريس]]
[[bg:Сорбона]]
[[da:Sorbonne]]
[[de:Sorbonne]]
[[en:University of Paris]]
[[en:University of Paris]]
[[eo:La Sorbonne]]
[[es:Universidad de París]]
[[es:Universidad de París]]
[[eu:Parisko Unibertsitatea]]
[[fi:Pariisin yliopisto]]
[[fi:Pariisin yliopisto]]
[[fr:Université de Paris]]
[[fr:Université de Paris]]
[[hy:Փարիզի համալսարան]]
[[he:סורבון]]
[[id:Universitas Paris]]
[[id:Universitas Paris]]
[[it:Università di Parigi]]
[[it:Università di Parigi]]
[[ja:パリ大学]]
[[ka:პარიზის უნივერსიტეტი]]
[[ka:პარიზის უნივერსიტეტი]]
[[nl:Universiteit van Parijs]]
[[ko:파리 대학]]
[[nl:Sorbonne]]
[[pl:Sorbona]]
[[pt:Universidade de Paris]]
[[pt:Universidade de Paris]]
[[ru:Сорбонна]]
[[sr:Сорбона]]
[[sr:Сорбона]]
[[tr:Paris Üniversitesi]]
[[sv:Sorbonne]]
[[vi:Đại học Paris]]
[[vi:Đại học Paris]]
[[zh:巴黎大学]]
[[zh:巴黎大学]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:08, 28 พฤศจิกายน 2551

ตึกวิทยาลัยซอร์บอนน์ ของมหาวิทยาลัยปารีส ในฝรั่งเศส

มหาวิทยาลัยปารีส (ฝรั่งเศส: Université de Paris ; อังกฤษ: University of Paris) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสองในโลก รองจากมหาวิทยาลัยโบโลญย่าในประเทศอิตาลี หลังจากก่อตั้งขึ้นมาเมื่อคราวสมัยกลางของยุโรป กล่าวคือคริสต์ศตวรรษที่ 12 มหาวิทยาลัยปารีสก็มีชื่อเสียงและนักศึกษามากกว่ามหาวิทยาลัยโบโลญย่าเสียอีก แม้แต่ชาวอังกฤษก็ต้องไปเรียนที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมากษัตริย์อังกฤษและฝรั่งเศสทรงทะเลาะกัน กษัตริย์อังกฤษจึงห้ามมิให้ชาวอังกฤษไปเรียนที่ฝรั่งเศสอีก และได้พากันมารวมตัวก่อตั้ง มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ขึ้นเป็นแห่งแรกในอังกฤษ

ข้อแตกต่างอย่างสำคัญระหว่าง มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ หรือเรียกรวมๆ ว่า 'ระบบ อ๊อกซบริดจ์' กับมหาวิทยาลัยปารีสก็คือระบบอ๊อกซบริดจ์จะเน้นประสิทธิภาพสูงสุดในการสอนโดยใช้ระบบติวเตอร์พร้อมๆ กับการวิจัย ทั้งสองอย่างนี้กระทำในเวลาเดียวกัน ระบบนี้ทำให้ครูอาจารย์ใกล้ชิดนักศึกษามากเป็นพิเศษ แต่มหาวิทยาลัยปารีส เน้นหนักด้านการทำวิจัยมากกว่า มีลักษณะการจัดระบบการเรียนการสอนคล้ายๆ มหาวิทยาลัยรามคำแหงในประเทศไทย กล่าวคือใครมีวุฒิการศึกษาระดับม.ปลายที่ได้รับการยอมรับก็สมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยปารีสได้ทั้งนั้น ครูอาจารย์จะเอาเวลาส่วนใหญ่ไปทำการค้นคว้าวิจัย ดังนั้น จึงมีเวลาคุยกับนักศึกษาน้อยมาก

ดังนั้น เมื่อกอร์แมน (Gourman's Report) ได้พยายามสำรวจผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยปารีสมีผลงานวิจัยผลิตมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของโลก รองลงมาคือ มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท ของ ประเทศรัสเซีย

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงชาวไทย