ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเร็วแนวเล็ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
DragonBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tr:Dikeyhız
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
[[en:Radial velocity]]
[[en:Radial velocity]]
[[es:Velocidad radial]]
[[es:Velocidad radial]]
[[fi:Säteisliike]]
[[fr:Vitesse radiale]]
[[fr:Vitesse radiale]]
[[it:Velocità radiale]]
[[it:Velocità radiale]]
[[ja:視線速度]]
[[lb:Radial Vitesse]]
[[lb:Radial Vitesse]]
[[lt:Radialinis greitis]]
[[lt:Radialinis greitis]]
[[ja:視線速度]]
[[pl:Prędkość radialna]]
[[pl:Prędkość radialna]]
[[pt:Velocidade radial]]
[[pt:Velocidade radial]]
บรรทัด 28: บรรทัด 29:
[[sk:Radiálna rýchlosť]]
[[sk:Radiálna rýchlosť]]
[[sl:Radialna hitrost]]
[[sl:Radialna hitrost]]
[[fi:Säteisliike]]
[[sv:Radialhastighet]]
[[sv:Radialhastighet]]
[[tr:Dikeyhız]]
[[vi:Vận tốc xuyên tâm]]
[[vi:Vận tốc xuyên tâm]]
[[zh:徑向速度]]
[[zh:徑向速度]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:36, 25 พฤศจิกายน 2551

ความเร็วแนวเล็ง (อังกฤษ: Radial velocity) บางครั้งก็เรียกว่า ความเร็วเชิงรัศมี หรือ ความเร็วแนวรัศมี เป็นความเร็วของวัตถุในทิศทางที่อยู่ตรงแนวสายตาของเรา ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนเข้าหาตัวเราหรือเคลื่อนออกจากตัวเราก็ตาม แสงจากวัตถุที่มีความเร็วแนวเล็งที่แน่นอนสามารถทำให้เกิดปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ได้ โดยความถี่ของแสงจะลดลงขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ห่างออกไป (เรียกว่า การเคลื่อนไปทางแดง) หรือความถี่จะเพิ่มขึ้นเมื่อวัตถุเคลื่อนใกล้เข้ามา (เรียกว่า การเคลื่อนไปทางน้ำเงิน)

การวัดความเร็วแนวเล็งของดาวฤกษ์หรือวัตถุส่องสว่างอื่นที่อยู่ห่างไกลสามารถทำได้โดยการตรวจสอบสเปกตรัมความละเอียดสูงและเปรียบเทียบคลื่นความถี่ที่ได้กับแถบสเปกตรัมที่เราทราบค่าแล้วจากห้องทดลอง ตามปกติ ความเร็วแนวเล็งที่เป็นบวกหมายถึงวัตถุกำลังเคลื่อนห่างออกไป ถ้าความเร็วแนวเล็งเป็นลบ หมายถึงวัตถุกำลังเคลื่อนใกล้เข้ามา

ในระบบดาวคู่หลายแห่ง การเคลื่อนที่ของวงโคจรจะทำให้ความเร็วแนวเล็งแปรค่าไปมาได้หลายกิโลเมตรต่อวินาที เมื่อค่าสเปกตรัมของดาวเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปมาจากผลของปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ จึงเรียกเหตุการณ์นี้ว่า spectroscopic binaries การศึกษาความเร็วแนวเล็งใช้เพื่อประมาณค่ามวลของดาวฤกษ์และองค์ประกอบของวงโคจรบางตัว เช่นความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรและค่ากึ่งแกนเอก กระบวนการเดียวกันนี้สามารถนำไปใช้ในการตรวจจับดาวเคราะห์รอบดาวฤกษ์ได้ ด้วยหลักการการตรวจจับความเคลื่อนไหวจะบ่งชี้ถึงคาบดาราคติของดาวเคราะห์ และขนาดของการเคลื่อนที่ทำให้สามารถคำนวณค่าต่ำสุดที่เป็นไปได้ของมวลดาวเคราะห์ได้

ดูเพิ่ม