ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบดาวฤกษ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== ระบบดาวหลายดวง ==
== ระบบดาวหลายดวง ==
{{บทความหลัก|ระบบดาวหลายดวง}}
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}

'''ระบบดาวหลายดวง''' เป็นระบบที่มีดาวฤกษ์อยู่มากกว่า 2 ดวง<ref>p. 16, ''Understanding Variable Stars'', John R. Percy, Cambridge: Cambridge University Press, 2007, ISBN 0521232538.</ref><ref name=tokc /> ในกรณีที่มีดาวฤกษ์สมาชิก 3 ดวง จะเรียกว่า ''triple'', ''trinary'' หรือ ''ternary'' ถ้ามี 4 ดวงจะเรียกว่า ''quadruple'' หรือ ''quaternary'' ถ้ามี 5 ดวงจะเรียกว่า ''quintuple'' ถ้ามี 6 ดวงจะเรียกว่า ''sextuple'' ถ้ามี 7 ดวงจะเรียกว่า ''septuple'' เป็นเช่นนี้เรียงขึ้นไปเรื่อยๆ ระบบดาวแบบนี้มีขนาดเล็กกว่า[[กระจุกดาวเปิด]] ซึ่งจะมีความสัมพันธ์แบบพลศาสตร์มากกว่าและมักมีดาวฤกษ์ระหว่าง 100 ถึง 1,000 ดวง<ref>p. 24, ''Galactic Dynamics'', James Binney and Scott Tremaine, Princeton University Press, 1987, ISBN 0691084459.</ref>

=== ลักษณะทางพลศาสตร์ ===


=== การสังเกตการณ์ ===


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:16, 23 พฤศจิกายน 2551

ระบบดาว (อังกฤษ: Star system หรือ Stellar system) คือดาวฤกษ์กลุ่มเล็กๆ จำนวนหนึ่งที่โคจรอยู่รอบกันและกัน[1] โดยมีแรงดึงดูดระหว่างกันทำให้จับกลุ่มกันไว้ สำหรับดาวฤกษ์จำนวนมากที่มีแรงดึงดูดระหว่างกันมักเรียกว่าเป็น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร แม้ในหลักการแล้ว ทั้งกระจุกดาวและดาราจักร ก็ถือเป็น ระบบดาว เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีปรากฏเรียกใช้คำว่า ระบบดาว กับระบบที่มีดาวฤกษ์หนึ่งดวง กับดาวเคราะห์บริวารที่โคจรรอบๆ ด้วย[2][3]

ระบบดาวคู่

ระบบดาวหลายดวง

ระบบดาวหลายดวง เป็นระบบที่มีดาวฤกษ์อยู่มากกว่า 2 ดวง[4][5] ในกรณีที่มีดาวฤกษ์สมาชิก 3 ดวง จะเรียกว่า triple, trinary หรือ ternary ถ้ามี 4 ดวงจะเรียกว่า quadruple หรือ quaternary ถ้ามี 5 ดวงจะเรียกว่า quintuple ถ้ามี 6 ดวงจะเรียกว่า sextuple ถ้ามี 7 ดวงจะเรียกว่า septuple เป็นเช่นนี้เรียงขึ้นไปเรื่อยๆ ระบบดาวแบบนี้มีขนาดเล็กกว่ากระจุกดาวเปิด ซึ่งจะมีความสัมพันธ์แบบพลศาสตร์มากกว่าและมักมีดาวฤกษ์ระหว่าง 100 ถึง 1,000 ดวง[6]

ลักษณะทางพลศาสตร์

การสังเกตการณ์

อ้างอิง

  1. "Star system" ใน Modern Dictionary of Astronomy and Space Technology. A.S. Bhatia, ed. New Delhi: Deep & Deep Publications, 2005. ISBN 81-7629-741-0
  2. Astronomers discover a nearby star system just like our own Solar System, Joint Astronomy Centre, press release, July 8, 1998. Accessed on line September 23, 2007.
  3. Life unlikely in asteroid-ridden star system, Maggie McKee, NewScientist.com news service, July 7, 2004. Accessed on line September 23, 2007.
  4. p. 16, Understanding Variable Stars, John R. Percy, Cambridge: Cambridge University Press, 2007, ISBN 0521232538.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ tokc
  6. p. 24, Galactic Dynamics, James Binney and Scott Tremaine, Princeton University Press, 1987, ISBN 0691084459.