ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เล่าขำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วณิพก (คุย | ส่วนร่วม)
เล่าขำประหารตัวพระองค์เอง เล่าเสี้ยนไม่ใช่คนประหาร
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา +จัดหมวดหมู่ +โครง +ลิงก์ข้ามภาษา +เก็บกวาด
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| imagesize =
| imagesize =
| Caption =
| Caption =
| Title = พระราชโอรสในพระเจ้าเล่าเสี้ยน
| Title = พระโอรส
| Kingdom = [[พระเจ้าเล่าเสี้ยน]]
| Kingdom = [[จ๊กก๊ก]]
| Born =
| Born =
| Died = [[พ.ศ. 806]]
| Died = [[พ.ศ. 806]]
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
}}
}}


'''เล่าขำ''' {{lang-en|Liu Chen}}; {{sh-all|t=劉諶|s=刘谌}}) เป็นตัวละครใน[[วรรณกรรม]][[จีน]]อิง[[ประวัติศาสตร์]]เรื่อง[[สามก๊ก]]ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์[[ยุคสามก๊ก]] พระโอรสองค์ที่ 5 ใน[[พระเจ้าเล่าเสี้ยน]]แห่ง[[จ๊กก๊ก]] มีพระเชษฐาร่วมพระบิดามารดาเดียวกันคือ[[เล่ายอย]] [[เล่าเอียว]] [[เล่าจ้อง]] [[เล่าจ้าน]] [[เล่าสุน]]และ[[เล่ากี่]] ภายหลังจาก[[เตงงาย]]นำกองกำลังทหารบุกโจมตีจ๊กก๊ก เล่าขำเป็นพระโอรสเพียงคนเดียวที่ไม่ยอมให้พระเจ้าเล่าเสี้ยนเข้าคำนับแก่พระเจ้าวุยก๊ก พร้อมกับจัดสิ่งของบรรณาการออกไปคำนับ
'''เล่าขำ''' เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 5 ใน[[พระเจ้าเล่าเสี้ยน]] ก่อนที่[[จ๊กก๊ก]]จะล่มสลาย พระเจ้าเล่าเสี้ยนจะยินยอมสวามิภักดิ์ต่อ[[วุยก๊ก]]และยอมรับความพ่ายแพ้ต่อ[[เตงงาย]] แต่เล่าขำไม่ยอมสวามิภักดิ์ต่อวุยก๊ก ยอมสู้ศึกจนตาย สร้างความไม่พอพระทัยให้แก่พระเจ้าเล่าเสี้ยนเป็นอย่างยิ่ง แล้วรับสั่งให้ขับเล่าขำออกจากท้องพระโรง ภายหลังจากที่พระเจ้าเล่าเสี้ยนตัดสินพระทัยยอมสวามิภักดิ๋ต่อวุยก๊ก เล่าขำจึงตัดสินพระทัยประหาร มเหสี พระโอรส และตนเองต่อหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์ของ[[พระเจ้าเล่าปี่]]

== ประวัติ ==

ภายหลังจากสูญเสียเมืองกิมก๊ก และทราบข่าวของเตงงายที่นำกองกำลังที่เตรียมยุกยึดจ๊กก๊ก พระเจ้าเล่าเสี้ยนจึงหารือแก่เหล่าขุนนางในราชสำนัก ซึ่งให้คำแนะนำต่างกัน บ้างก็แนะให้หลบหนีไปทางทิศใต้ซึ่งมีหัวเมืองหกหัวเมือง เพื่อสำหรับยับยั้งอาศัยและซ่อมสุมกองกำลัง แล้วไปคำนับเมืองกังตั๋งเพื่อขอกำลังมาช่วยคิดทำการสืบต่อไป แต่[[เจียวจิ๋ว]]ทูลขัดเหล่าขุนนางว่า ''"อันธรรมเนียมโบราณซึ่งจะตั้งตังเป็นพระเจ้าแผ่นดินนั้น จะได้อาศัยกำลังผู้อื่นหามิได้ ย่อมเพียรพยายามได้เป็นดีด้วยปัญญาความคิดแลกำลังของตัว เมื่อแลต่อด้วยข้าศึกมิได้เข้าไปนบนอบเมืองกังตั๋งนั้น ใช่ว่าเมืองกังตั๋งจะตั้งมั่นเป็นเอกโทอยู่ก็หาไม่ ก็จะเสียแก่วุยก๊กเป็นมั่นคง นานไปก็ต้องกลับไปคำนำเขา ก็จะมิได้อัปยศเป็นสองซ้ำไปหรือจะต้องการอันใด ถ้าเข้าคำนับแก่พระเจ้าวุยก๊กเสียครั้งนี้เห็นจะได้อายแต่ครั้งเดียว ขอให้พระองค์ดำริดูเถิด"''<ref name="พระเจ้าเล่าเสี้ยนอ่อนน้อมต่อข้าศึก">พระเจ้าเล่าเสี้ยนอ่อนน้อมต่อข้าศึก, สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เล่ม 2, สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร, พ.ศ. 2544, หน้า 777</ref>

== อ้างอิง ==

{{reflist}}

== ดูเพิ่ม ==

* [[สามก๊ก]]
* [[ตัวละครในสามก๊ก]]
* [[พระเจ้าเล่าเสี้ยน]]


{{ตัวละครในสามก๊ก}}
{{ตัวละครในสามก๊ก}}


[[หมวดหมู่:ตัวละครในสามก๊ก]]
[[หมวดหมู่:ตัวละครในสามก๊ก|ล่เขำ]]
{{เรียงลำดับ|ล่เขำ}}
[[หมวดหมู่:จ๊กก๊ก|ล่เขำ]]

{{โครงสามก๊ก}}

[[en:Liu Chen]]
[[ja:劉シン]]
[[ko:유심]]
[[zh:劉諶]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:19, 21 พฤศจิกายน 2551

เล่าขำ
พระโอรสแห่งพระเจ้าเล่าเสี้ยน
ถึงแก่กรรมพ.ศ. 806
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวเต็ม劉諶
อักษรจีนตัวย่อ刘谌

เล่าขำ อังกฤษ: Liu Chen; แม่แบบ:Sh-all) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก พระโอรสองค์ที่ 5 ในพระเจ้าเล่าเสี้ยนแห่งจ๊กก๊ก มีพระเชษฐาร่วมพระบิดามารดาเดียวกันคือเล่ายอย เล่าเอียว เล่าจ้อง เล่าจ้าน เล่าสุนและเล่ากี่ ภายหลังจากเตงงายนำกองกำลังทหารบุกโจมตีจ๊กก๊ก เล่าขำเป็นพระโอรสเพียงคนเดียวที่ไม่ยอมให้พระเจ้าเล่าเสี้ยนเข้าคำนับแก่พระเจ้าวุยก๊ก พร้อมกับจัดสิ่งของบรรณาการออกไปคำนับ

ประวัติ

ภายหลังจากสูญเสียเมืองกิมก๊ก และทราบข่าวของเตงงายที่นำกองกำลังที่เตรียมยุกยึดจ๊กก๊ก พระเจ้าเล่าเสี้ยนจึงหารือแก่เหล่าขุนนางในราชสำนัก ซึ่งให้คำแนะนำต่างกัน บ้างก็แนะให้หลบหนีไปทางทิศใต้ซึ่งมีหัวเมืองหกหัวเมือง เพื่อสำหรับยับยั้งอาศัยและซ่อมสุมกองกำลัง แล้วไปคำนับเมืองกังตั๋งเพื่อขอกำลังมาช่วยคิดทำการสืบต่อไป แต่เจียวจิ๋วทูลขัดเหล่าขุนนางว่า "อันธรรมเนียมโบราณซึ่งจะตั้งตังเป็นพระเจ้าแผ่นดินนั้น จะได้อาศัยกำลังผู้อื่นหามิได้ ย่อมเพียรพยายามได้เป็นดีด้วยปัญญาความคิดแลกำลังของตัว เมื่อแลต่อด้วยข้าศึกมิได้เข้าไปนบนอบเมืองกังตั๋งนั้น ใช่ว่าเมืองกังตั๋งจะตั้งมั่นเป็นเอกโทอยู่ก็หาไม่ ก็จะเสียแก่วุยก๊กเป็นมั่นคง นานไปก็ต้องกลับไปคำนำเขา ก็จะมิได้อัปยศเป็นสองซ้ำไปหรือจะต้องการอันใด ถ้าเข้าคำนับแก่พระเจ้าวุยก๊กเสียครั้งนี้เห็นจะได้อายแต่ครั้งเดียว ขอให้พระองค์ดำริดูเถิด"[1]

อ้างอิง

  1. พระเจ้าเล่าเสี้ยนอ่อนน้อมต่อข้าศึก, สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เล่ม 2, สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร, พ.ศ. 2544, หน้า 777

ดูเพิ่ม