ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่องแคบเบริง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pastman (คุย | ส่วนร่วม)
 
Pastman (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 11: บรรทัด 11:


[[หมวดหมู่:ช่องแคบ|บ]]
[[หมวดหมู่:ช่องแคบ|บ]]
[[หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา|ช]]
[[หมวดหมู่:ประเทศรัสเซีย|ช]]

[[af:Beringstraat]]
[[ar:بايرنغ (مضيق)]]
[[bn:বেরিং প্রণালী]]
[[be:Берынгаў праліў]]
[[br:Strizh-mor Bering]]
[[bg:Берингов проток]]
[[ca:Estret de Bering]]
[[cs:Beringův průliv]]
[[cy:Culfor Bering]]
[[da:Beringstrædet]]
[[de:Beringstraße]]
[[et:Beringi väin]]
[[el:Βερίγγειος Πορθμός]]
[[en:Bering Strait]]
[[es:Estrecho de Bering]]
[[eo:Beringa Markolo]]
[[eu:Beringeko itsasartea]]
[[fa:تنگه برینگ]]
[[fr:Détroit de Béring]]
[[fy:Beringstrjitte]]
[[gl:Estreito de Bering]]
[[zh-classical:白令海峽]]
[[ko:베링 해협]]
[[hi:बेरिंग जलसन्धि]]
[[hr:Beringov prolaz]]
[[id:Selat Bering]]
[[is:Beringssund]]
[[it:Stretto di Bering]]
[[he:מצר ברינג]]
[[sw:Mlango wa Bering]]
[[ku:Tengava Berîng]]
[[lb:Beringstrooss]]
[[lt:Beringo sąsiauris]]
[[hu:Bering-szoros]]
[[mn:Берингийн хоолой]]
[[nl:Beringstraat]]
[[ja:ベーリング海峡]]
[[no:Beringstredet]]
[[nn:Beringsundet]]
[[oc:Estrech de Bering]]
[[pl:Cieśnina Beringa]]
[[pt:Estreito de Bering]]
[[ro:Strâmtoarea Bering]]
[[ru:Берингов пролив]]
[[se:Beringčoalbmi]]
[[scn:Strittu di Bering]]
[[simple:Bering Strait]]
[[sk:Beringov prieliv]]
[[sr:Берингов мореуз]]
[[fi:Beringinsalmi]]
[[sv:Berings sund]]
[[ta:பெரிங் நீரிணை]]
[[th:ช่องแคบแบริง]]
[[vi:Eo biển Bering]]
[[tr:Bering Boğazı]]
[[uk:Берингова протока]]
[[zh:白令海峡]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:24, 19 พฤศจิกายน 2551

ภาพถ่ายทางอากาศของช่องแคบแบริง

ช่องแคบแบริง (อังกฤษ : Bering Strait) เป็นช่องทะเลเล็กๆระหว่างแหลมเดซเนฟ ประเทศรัสเซีย จุดตะวันออกสุดของทวีปเอเชีย (169°43' W) กับแหลมปริ๊นซ์ออฟเวลส์ รัฐอลาสก้า จุดที่อยู่ตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ (168°05' W) อยู่ค่อนมาทางใต้เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลเหนือเล็กน้อย เป็นหนึ่งในช่องแคบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก


ลักษณะทางภูมิศาสตร์

ช่องแคบแบริงมีความกว้างประมาณ 53 กิโลเมตร มีความลึกประมาณ 30 - 50 เมตร เชื่อมระหว่างทะเลชุกชิ (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก) ทางทิศเหนือ กับทะเลแบริง (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก)ทางทิศใต้ ชื่อของช่องแคบได้มาจากชื่อนักสำรวจชาวเดนมาร์ก นามว่า วิตัส แบริง ซึ่งเดินทางข้ามช่องแคบในปี พ.ศ. 2271

th:ช่องแคบแบริง