ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุดมศึกษา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
{{โครงสถานศึกษา}}
{{โครงสถานศึกษา}}


[[ar:تعليم عالي]]
[[ca:Educació terciària]]
[[ca:Educació terciària]]
[[da:Videregående uddannelser i Danmark]]
[[de:Studium]]
[[de:Studium]]
[[en:Higher education]]
[[en:Higher education]]
[[es:Educación superior]]
[[es:Educación superior]]
[[fr:Études supérieures]]
[[fr:Études supérieures]]
[[he:מוסד להשכלה גבוהה]]
[[id:Pendidikan tinggi]]
[[ja:高等教育]]
[[ja:高等教育]]
[[ko:고등 교육]]
[[lt:Aukštoji mokykla]]
[[lt:Aukštoji mokykla]]
[[nl:Hoger onderwijs]]
[[no:Høyere utdannelse]]
[[pl:Wykształcenie wyższe]]
[[pl:Wykształcenie wyższe]]
[[pt:Ensino superior]]
[[pt:Ensino superior]]
[[ru:Высшее учебное заведение]]
[[simple:Higher education]]
[[uk:Вища освіта]]
[[uk:Вища освіта]]
[[zh:高等教育]]
[[zh:高等教育]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:19, 14 พฤศจิกายน 2551

อุดมศึกษา หมายถึง การศึกษาที่สูงขึ้นจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากคำบาลี ได้แก่ อุดม หมายถึง สูงสุด และ ศึกษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูงสุด

การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทยนั้น เริ่มขึ้นตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ก่อตั้งโรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทย์ โรงเรียนไหม รวมถึงโรงเรียนมหาดเล็ก แต่ยังไม่สามารถให้การศึกษาถึงขั้นปริญญาได้ ในปัจจุบัน การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด 157 แห่งทั่วประเทศ (รายงานประจำปี 2548 สกอ.) โดยแบ่งเป็น

นอกจากนี้ ยังมีการจัดการศึกษาโดย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือ บัณฑิตวิทยาลัย ที่อาจจะไม่ได้อยู่ในสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เช่น วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของ กระทรวงกลาโหม นอกจากนี้โรงเรียนสาธิตก็ยังสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอีกด้วย

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น