ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมภายใน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สถาปัตยกรรมภายใน'''เป็นงาน[[สถาปัตยกรรม]]สาขาหนึ่งที่แยกออกมาจาก '''สถาปัตยกรรมหลัก (อาคาร)''' ความหมายของคำว่า '''สถาปัตยกรรมภายใน''' จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า '''"ออกแบบตกแต่งภายในและมัณฑนศิลป์"''' ซึ่งมีความหมายค่อนข้างตรงตัวอยู่แล้ว '''สถาปัตยกรรมภายใน''' น่าจะหมายรวมถึง "การก่อเกิดความงามที่ยังประโยชน์ แฝงความหมายแห่ง[[ศิลปกรรม]] [[จิตรกรรม]] [[ประติมากรรม]] เพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์ ที่เป็นผู้ใช้สอย[[พื้นที่ว่าง]]ภายในอาคาร (space) [[มนุษย์]]กับ[[สิ่งแวดล้อม]] (human and environment) โดยเกี่ยวโยงถึงการพิจารณาถึงระยะและขนาดเนื้อที่ต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับ สัดส่วนของมนุษย์ (human scale in architecture) ความต้องการระยะและเนื้อที่ใช้สอยภายในอาคาร ( human scale) อันจะเกี่ยวพันกับการ ยืน เดิน นั่ง นอน และการที่มนุษย์จะทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ว่างของอาคาร การที่จะออกแบบให้อาคารมีรูปแบบและพื้นที่เพื่อตอบสองการใช้งานของมนุษย์ โดยการเลือกใช้วัสดุต่างๆ ตามคุณสมบัติมาใช้งานให้ก่อเกิดเป็นรูปร่าง ทั้ง พื้น ผนัง เพดาน ทั้งสามมิติ และห่อหุ้มพื้นที่ว่างเอาไว้ให้มนุษย์ได้ใช้งาน ทั้งจากร่างกาย และสายตา รวมถึงอารมณ์ ความรู้สึก ผ่านรูปแบบ สีสัน ผิวสัมผัส (Texture)ของวัสดุต่างๆ อาจหมายรวมให้กว้างไปถึงงานระบบต่างๆที่เข้ามามีส่วนร่วมกับการใช้อาคาร เช่น แสง สี เสียง และระบบ[[วิศวกรรม]]ที่เกียวข้อง ทั้งหลายที่กล่าวมาพอจะประกอบรวมกัน เป็นคำว่า '''สถาปัตยกรรมภายใน''' ในยุคสมัยปัจจุบันได้ หรืออาจกล่าวสั้นๆได้คือ "การออกแบบพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) และการเลือกใช้วัสดุมาก่อสร้างเพื่อห่อหุ้มพื้นที่ว่างภายในอาคารเพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์(human scale) รวมถึงการประดับตกแต่ง ศิลปะแขนงต่างๆ (arts)"
'''สถาปัตยกรรมภายใน'''เป็นงาน[[สถาปัตยกรรม]]สาขาหนึ่งที่แยกออกมาจาก '''สถาปัตยกรรมหลัก (อาคาร)''' ความหมายของคำว่า '''สถาปัตยกรรมภายใน''' จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า '''"ออกแบบตกแต่งภายในและมัณฑนศิลป์"''' ซึ่งมีความหมายค่อนข้างตรงตัวอยู่แล้ว '''สถาปัตยกรรมภายใน''' น่าจะหมายรวมถึง "การก่อเกิดความงามที่ยังประโยชน์ แฝงความหมายแห่ง[[ศิลปกรรม]] [[จิตรกรรม]] [[ประติมากรรม]] เพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์ ที่เป็นผู้ใช้สอย[[พื้นที่ว่าง]]ภายในอาคาร (space) [[มนุษย์]]กับ[[สิ่งแวดล้อม]] (human and environment) โดยเกี่ยวโยงถึงการพิจารณาถึงระยะและขนาดเนื้อที่ต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับ สัดส่วนของมนุษย์ (human scale in architecture) ความต้องการระยะและเนื้อที่ใช้สอยภายในอาคาร ( human scale) อันจะเกี่ยวพันกับการ ยืน เดิน นั่ง นอน และการที่มนุษย์จะทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ว่างของอาคาร การที่จะออกแบบให้อาคารมีรูปแบบและพื้นที่เพื่อตอบสองการใช้งานของมนุษย์ โดยการเลือกใช้วัสดุต่างๆ ตามคุณสมบัติมาใช้งานให้ก่อเกิดเป็นรูปร่าง ทั้ง พื้น ผนัง เพดาน ทั้งสามมิติ และห่อหุ้มพื้นที่ว่างเอาไว้ให้มนุษย์ได้ใช้งาน ทั้งจากร่างกาย และสายตา รวมถึงอารมณ์ ความรู้สึก ผ่านรูปแบบ สีสัน ผิวสัมผัส (Texture)ของวัสดุต่างๆ อาจหมายรวมให้กว้างไปถึงงานระบบต่างๆที่เข้ามามีส่วนร่วมกับการใช้อาคาร เช่น แสง สี เสียง และระบบ[[วิศวกรรม]]ที่เกียวข้อง ทั้งหลายที่กล่าวมาพอจะประกอบรวมกัน เป็นคำว่า '''สถาปัตยกรรมภายใน''' ในยุคสมัยปัจจุบันได้ หรืออาจกล่าวสั้นๆได้คือ "การออกแบบพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) และการเลือกใช้วัสดุมาก่อสร้างเพื่อห่อหุ้มพื้นที่ว่างภายในอาคารเพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์(human scale) รวมถึงการประดับตกแต่ง ศิลปะแขนงต่างๆ (arts)"


ในประเทศไทยสถาปัตยกรรมภายใน เป็นสาขาวิชาชีพควบคุม อยู่ภายใต้ [[สภาสถาปนิก]] คำจำกัดความของ'''สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์''' ถูกระบุใน [[พระราชบัญญัติสถาปนิก|พรบ.สถาปนิก 2543]] และ [[กฎกระทรวง]]ว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ.2549 <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/A/070/15.PDF กฎกระทรวงการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม ปี 2549]</ref> ว่าหมายถึง "วิชาชีพ[[สถาปัตยกรรม]]ที่ใช้ศาสตร์และศิลป์ในการออกแบบเพื่อสร้างสรรค์องค์ประกอบทางกายภาพและสภาพแวดล้อมภายในอาคาร" [[สถาปนิก]]ที่ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สำหรับพื้นที่ภายในอาคารสาธารณะที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมี[[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ]] มีสมาคมวิชาชีพของสถาปนิกภายใน ชื่อ [[สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย]] หรือ TIDA (Thailand Interior Designers' Association)
ในประเทศไทยสถาปัตยกรรมภายใน เป็นสาขาวิชาชีพควบคุม อยู่ภายใต้ [[สภาสถาปนิก]] คำจำกัดความของ'''สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์''' ถูกระบุใน [[พระราชบัญญัติสถาปนิก|พรบ.สถาปนิก 2543]] และ [[กฎกระทรวง]]ว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ.2549 <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/A/070/15.PDF กฎกระทรวงการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม ปี 2549]</ref> ว่าหมายถึง "วิชาชีพ[[สถาปัตยกรรม]]ที่ใช้ศาสตร์และศิลป์ในการออกแบบเพื่อสร้างสรรค์องค์ประกอบทางกายภาพและสภาพแวดล้อมภายในอาคาร" [[สถาปนิก]]ที่ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สำหรับพื้นที่ภายในอาคารสาธารณะที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมี[[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม|ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ]] มีสมาคมวิชาชีพของสถาปนิกภายใน ชื่อ [[สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย]] หรือ TIDA (Thailand Interior Designers' Association)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:26, 2 ตุลาคม 2551

สถาปัตยกรรมภายในเป็นงานสถาปัตยกรรมสาขาหนึ่งที่แยกออกมาจาก สถาปัตยกรรมหลัก (อาคาร) ความหมายของคำว่า สถาปัตยกรรมภายใน จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า "ออกแบบตกแต่งภายในและมัณฑนศิลป์" ซึ่งมีความหมายค่อนข้างตรงตัวอยู่แล้ว สถาปัตยกรรมภายใน น่าจะหมายรวมถึง "การก่อเกิดความงามที่ยังประโยชน์ แฝงความหมายแห่งศิลปกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม เพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์ ที่เป็นผู้ใช้สอยพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (human and environment) โดยเกี่ยวโยงถึงการพิจารณาถึงระยะและขนาดเนื้อที่ต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับ สัดส่วนของมนุษย์ (human scale in architecture) ความต้องการระยะและเนื้อที่ใช้สอยภายในอาคาร ( human scale) อันจะเกี่ยวพันกับการ ยืน เดิน นั่ง นอน และการที่มนุษย์จะทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ว่างของอาคาร การที่จะออกแบบให้อาคารมีรูปแบบและพื้นที่เพื่อตอบสองการใช้งานของมนุษย์ โดยการเลือกใช้วัสดุต่างๆ ตามคุณสมบัติมาใช้งานให้ก่อเกิดเป็นรูปร่าง ทั้ง พื้น ผนัง เพดาน ทั้งสามมิติ และห่อหุ้มพื้นที่ว่างเอาไว้ให้มนุษย์ได้ใช้งาน ทั้งจากร่างกาย และสายตา รวมถึงอารมณ์ ความรู้สึก ผ่านรูปแบบ สีสัน ผิวสัมผัส (Texture)ของวัสดุต่างๆ อาจหมายรวมให้กว้างไปถึงงานระบบต่างๆที่เข้ามามีส่วนร่วมกับการใช้อาคาร เช่น แสง สี เสียง และระบบวิศวกรรมที่เกียวข้อง ทั้งหลายที่กล่าวมาพอจะประกอบรวมกัน เป็นคำว่า สถาปัตยกรรมภายใน ในยุคสมัยปัจจุบันได้ หรืออาจกล่าวสั้นๆได้คือ "การออกแบบพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) และการเลือกใช้วัสดุมาก่อสร้างเพื่อห่อหุ้มพื้นที่ว่างภายในอาคารเพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์(human scale) รวมถึงการประดับตกแต่ง ศิลปะแขนงต่างๆ (arts)"

ในประเทศไทยสถาปัตยกรรมภายใน เป็นสาขาวิชาชีพควบคุม อยู่ภายใต้ สภาสถาปนิก คำจำกัดความของสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ถูกระบุใน พรบ.สถาปนิก 2543 และ กฎกระทรวงว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ.2549 [1] ว่าหมายถึง "วิชาชีพสถาปัตยกรรมที่ใช้ศาสตร์และศิลป์ในการออกแบบเพื่อสร้างสรรค์องค์ประกอบทางกายภาพและสภาพแวดล้อมภายในอาคาร" สถาปนิกที่ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สำหรับพื้นที่ภายในอาคารสาธารณะที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ มีสมาคมวิชาชีพของสถาปนิกภายใน ชื่อ สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย หรือ TIDA (Thailand Interior Designers' Association)

อ้างอิง