ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หินหนืด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
AlleborgoBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: it:Magma
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
[[id:Magma]]
[[id:Magma]]
[[is:Bergkvika]]
[[is:Bergkvika]]
[[it:Magma (geologia)]]
[[it:Magma]]
[[ja:マグマ]]
[[ja:マグマ]]
[[ko:마그마]]
[[ko:마그마]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:33, 24 กันยายน 2551

หินหนืด หรือ หินแม็กมา (magma) เป็นสารเหลวที่อยู่ลึกลงไปภายใต้เปลือกโลก มีความหนืดหรือข้นมากกว่าปกติ เคลื่อนตัวได้ในวงจำกัด มีส่วนผสมของแข็ง ของเหลว หรือก๊าสรวมอยู่ด้วย มีอุณหภูมิที่สูงมาก เมื่อแทรกดันหรือพุ่งขึ้นจากผิวโลก จะเย็นตัวลงกลายเป็นหินแข็ง เรียกว่า หินอัคนี

หินหนืดมีอุณหภูมิอยู่ในช่วง 650 - 1,200 องศาเซลเซียส ถูกอัดอยู่ภายใต้แรงดันสูง บางครั้งถูกดันขึ้นมาผ่านปล่องภูเขาไฟเป็นหินหลอมเหลว (lava) ผลลัพธ์จากการระเบิดของภูเขาไฟ มักจะได้ของเหลว ผลึก และก๊าส ที่ไม่เคยผุดขึ้นจากเปลือกโลกมาก่อน หินหนืดจะสะสมตัวอยู่ในช่องภายใต้เปลือกโลก โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ กันเล็กน้อยในพื้นที่ต่าง ๆ

การเกิดหินหนืด

การเกิดหินหนืดนั้น บางส่วนของโลกจะต้องมีความร้อนพอที่จะละลายหินได้ ในสภาวะปกติจะไม่มีความร้อนที่สูงพอจะละลายหินได้ เว้นแต่บริเวณแกนโลกด้านนอก ดังนั้นหินหนืดจึงเกิดในสภาพพิเศษเท่านั้น และต้องมีแรงดันที่เพิ่มขึ้น ทำให้อุณหภูมิในการหลอมละลายเปลี่ยนไปด้วย

ชนิดของหินหนืด

  • หินหนืดบะซอลต์ (Balastic magma) หรือ หินหนืดแกบโบร (Gabbroic magma)
  • หินหนืดไดออไรต์ (Dioritic magma) หรือ หินหนืดแอนเดสไซต์ (Andesitic magma)
  • หินหนืดไรโอไลต์ (Rhyolitic magma) หรือ หินหนืดแกรนิต (Granitic magma)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น