ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
** <sup>Ma</sup> [[จำนวนเชิงซ้อน]]
** <sup>Ma</sup> [[จำนวนเชิงซ้อน]]
** <sup>Ma</sup> ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน (ระบบพิกัดสี่เหลี่ยมผืนผ้า)
** <sup>Ma</sup> ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน (ระบบพิกัดสี่เหลี่ยมผืนผ้า)
** <sup>Ma</sup> ยูนิฟอร์ม ทิลลิ่ง ใน[[คณิตศาสตร์]] [[เรขาคณิตยูคลิด]]
** <sup>Ma</sup> ยูนิฟอร์ม ทิลลิ่ง ใน[[คณิตศาสตร์]], เรขาคณิตยูคลิด
** <sup>Ma</sup> พื้นผิว ในทาง[[คณิตศาสตร์]] [[ทอพอโลยี]]
** <sup>Ma</sup> พื้นผิว ในทาง[[คณิตศาสตร์]], [[ทอพอโลยี]]
*สามมิติ:
*สามมิติ:
** <sup>Ma</sup> [[ทรงตันเพลโต]] (ทรงนูน[[ทรงหลายหน้าปรกติ|หลายหน้าปรกติ]]) [[เรขาคณิต]]
** <sup>Ma</sup> [[ทรงตันเพลโต]] (ทรงนูน[[ทรงหลายหน้าปรกติ|หลายหน้าปรกติ]]), [[เรขาคณิต]]
** <sup>Ph</sup> สเตอริโอสโคปี (ภาพ 3 มิติ)
** <sup>Ph</sup> สเตอริโอสโคปี (ภาพ 3 มิติ)
** <sup>Ph</sup> มุมของ[[เลออนฮาร์ด ออยเลอร์|ออยเลอร์]] (ทรงตันในอุดมคติ)
** <sup>Ph</sup> มุมของ[[เลออนฮาร์ด ออยเลอร์|ออยเลอร์]] (ทรงตันในอุดมคติ)
** <sup>Ma</sup> ช่องว่าง 3 มิติ ในคณิตศาสตร์นามธรรม
** <sup>Ma</sup> ช่องว่าง 3 มิติ ใน[[คณิตศาสตร์]]นามธรรม , [[ทอพอโลยี]]
** <sup>Ma</sup> ปม ([[คณิตศาสตร์]])
** <sup>Ma</sup> ปม ในทาง[[คณิตศาสตร์]]
*สี่มิติ:
** <sup>Ph</sup><sup>,</sup><sup>Ma</sup> [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ|กาล-อวกาศ]] (เวลา) [[ฟิสิกส์]]สัมพัทธภาพ
** <sup>Ph</sup><sup>,</sup><sup>Ma</sup> เทสเซลแลคต์ (ช่องว่าง 4 มิติ; มิติที่ 4 ของ[[อวกาศ]])
** <sup>Ma</sup> โพลีคอรอน (โพลีโทป 4 มิติ) [[คณิตศาสตร์]], [[ทอพอโลยี]]
** <sup>Ma</sup> [[ควอเทอร์เนียน]] ([[จำนวนเชิงซ้อน]] ใน[[คณิตศาสตร์]][[ทฤษฎีจำนวน]])
** <sup>Ma</sup> ช่องว่าง 4 มิติ ใน[[คณิตศาสตร์]]นามธรรม, [[ทอพอโลยี]]
*มิติที่สูงขึ้นไปในทางคณิตศาสตร์:



{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:58, 20 กันยายน 2551

มิติ ความหมายโดยทั่วไปหมายถึง สิ่งที่บอกคุณสมบัติของวัตถุ ได้แก่ ความกว้าง ความยาว และ ความสูง ส่วนในทางคณิตศาสตร์ มิติ หมายถึงจำนวนตัวเลขที่ต้องการเพื่อระบุตำแหน่งและคุณสมบัติของวัตถุใด ๆ ในปริภูมิ ในศาสตร์ต่าง ๆ อาจนิยามความหมายของคำว่า มิติ แทนจำนวนพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ต้นทุน และ ราคา ในทางเศรษฐศาสตร์

ตัวอย่างในทางภูมิศาสตร์เช่น จุดบนพื้นผิวโลก สามารถกำหนดได้โดยตัวเลขค่าละติจูดและลองจิจูด ทำให้แผนที่ดังกล่าวมีสองมิติ (ถึงแม้ว่าโลกจะมีรูปร่างเกือบทรงกลมซึ่งมีสามมิติก็ตาม) ในการกำหนดตำแหน่งเครื่องบินหรืออากาศยานอื่น นอกจากละติจูดและลองจิจูดแล้ว ยังมีอีกตัวแปรหนึ่งคือค่า ความสูงจากพื้นดิน ทำให้พิกัดของเครื่องบิน เป็นสามมิติ

เวลา สามารถใช้เป็นมิติที่สามหรือที่สี่ (เพิ่มจากพื้นที่สองหรือสามมิติเดิม) ในการกำหนดตำแหน่งได้

มิติในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์

หมายเหตุ

Ma ทางคณิตศาสตร์

Ph ทางฟิสิกส์