ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ด็อกเตอร์แซ็คแชมเบอร์ออร์เคสตรา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ชื่อวง "Dr. Sax" มาจากฉายาของ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ผู้ก่อตั้งวง ซึ่งจบปริญญาเอกสาขาการเล่นและการสอน[[แซ็กโซโฟน]] จาก[[มหาวิทยาลัยนอร์เทิร์น โคโลราโด]] [[สหรัฐอเมริกา]]
ชื่อวง "Dr. Sax" มาจากฉายาของ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ผู้ก่อตั้งวง ซึ่งจบปริญญาเอกสาขาการเล่นและการสอน[[แซ็กโซโฟน]] จาก[[มหาวิทยาลัยนอร์เทิร์น โคโลราโด]] [[สหรัฐอเมริกา]]


วงดร.แซค เชมเบอร์ เป็นวงดนตรีเพื่อประกอบการเรียนการสอนดนตรีเด็กของโรงเรียนสอนดนตรีเอื้อมอารีย์ (Dr. Sax School of Music) และอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา ของ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ผู้อำนวยการโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา โดยอาศัยปรัชญาและแนวความคิดใหม่ที่ว่า “ดนตรีเพื่อเด็กทุกคนและเด็กทุกคนควรมีโอกาสเรียนดนตรี” เพื่อให้ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เมื่อเด็กได้เรียนดนตรีแล้ว ไม่จำเป็นว่าเด็กจะต้องประกอบอาชีพเป็นนักดนตรีเท่านั้น เด็กสามารถเรียนรู้เพื่อความสุขส่วนตัว เรียนรู้เพื่อความมีรสนิยม เป็นผู้มีวัฒนธรรม โดยอาศัยดนตรีเป็นสื่อ เมื่อพ่อแม่ยอมให้ลูกไปเรียนดนตรี กระทั่งดนตรี ดึงให้เด็กสนใจดนตรีมากขึ้น เด็กดึงพ่อแม่ให้มาสนใจกิจกรรม ดนตรี พ่อแม่ลูกสนใจดนตรี ทุกคนในครอบครัวสนใจเรื่อง เดียวกัน ทุกคนสนใจซึ่งกันและกัน ทุกคนก็จะมีความสุข
วงด็อกเตอร์แซ็ก เชมเบอร์ออร์เคสตร้า เป็นวงดนตรีเพื่อประกอบการเรียนการสอนดนตรีเด็กของโรงเรียนสอนดนตรีเอื้อมอารีย์ (Dr. Sax School of Music) และอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา ของ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ผู้อำนวยการโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา โดยอาศัยปรัชญาและแนวความคิดใหม่ที่ว่า “ดนตรีเพื่อเด็กทุกคนและเด็กทุกคนควรมีโอกาสเรียนดนตรี” เพื่อให้ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เมื่อเด็กได้เรียนดนตรีแล้ว ไม่จำเป็นว่าเด็กจะต้องประกอบอาชีพเป็นนักดนตรีเท่านั้น เด็กสามารถเรียนรู้เพื่อความสุขส่วนตัว เรียนรู้เพื่อความมีรสนิยม เป็นผู้มีวัฒนธรรม โดยอาศัยดนตรีเป็นสื่อ เมื่อพ่อแม่ยอมให้ลูกไปเรียนดนตรี กระทั่งดนตรี ดึงให้เด็กสนใจดนตรีมากขึ้น เด็กดึงพ่อแม่ให้มาสนใจกิจกรรม ดนตรี พ่อแม่ลูกสนใจดนตรี ทุกคนในครอบครัวสนใจเรื่อง เดียวกัน ทุกคนสนใจซึ่งกันและกัน ทุกคนก็จะมีความสุข


การรวมวง เป็นกิจกรรมดนตรีอย่างหนึ่งที่ทำให้เด็กได้ "เรียนดนตรีโดยการเล่น" และมีกิจกรรมที่กระตุ้นให้เด็กได้ฝึกซ้อมและมีแรงบันดาลใจที่จะเล่นดนตรีให้ดีที่สุดเต็มความสามารถ ดังนั้น วงด็อกเตอร์ แซค เชมเบอร์ ออร์เคสตร้า จึงได้เกิดการรวมตัวเป็นวงเมื่อประมาณปลายปี พ.ศ. 2540 เด็กๆ มาฝึกซ้อมกันทุกวันอาทิตย์เวลา 18.00 – 20.00 น.
การรวมวง เป็นกิจกรรมดนตรีอย่างหนึ่งที่ทำให้เด็กได้ "เรียนดนตรีโดยการเล่น" และมีกิจกรรมที่กระตุ้นให้เด็กได้ฝึกซ้อมและมีแรงบันดาลใจที่จะเล่นดนตรีให้ดีที่สุดเต็มความสามารถ ดังนั้น วงด็อกเตอร์ แซค เชมเบอร์ ออร์เคสตร้า จึงได้เกิดการรวมตัวเป็นวงเมื่อประมาณปลายปี พ.ศ. 2540 เด็กๆ มาฝึกซ้อมกันทุกวันอาทิตย์เวลา 18.00 – 20.00 น.

== โครงการพรสวรรค์ศึกษา ==

พรสวรรค์สร้างได้ ไม่ต้องคอยเทวดา เป็นงานวิจัยที่ได้ค้นคว้าด้านความสามารถและความถนัดทางด้านดนตรีของเด็ก ซึ่งศึกษาจากชีวิตจริง การปฏิบัติจริงของเด็ก จากเด็กที่สมัครใจเรียนวิชาดนตรีเป็นพิเศษ เมื่อเด็กมีฝีมือพอจะจัดรวมเป็นวงได้ก็รวมกันเป็นวง เริ่มต้นจากเป็นวงดนตรีที่ไม่อยู่ในสารบบ กล่าวคือไม่กำหนดว่ามีกี่คน ไม่กำหนดเครื่องดนตรีที่เล่น ต่อมาได้จัดให้เป็น วงเชมเบอร์ออร์เคสตร้า เป็นวงทดลองเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวและความเปลี่ยนแปลงของเด็ก เก็บข้อมูลการเรียนดนตรีและสะท้อนออกมาเป็นเอกสาร รวมถึงการแสดงดนตรีในรูปแบบคอนเสิร์ต การแสดงดนตรีประกอบคำบรรยาย การแสดงดนตรีต่อหน้าสาธารณชน และการบันทึกซีดี เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลทางการ ศึกษาด้านพัฒนาการ ของเด็กกลุ่มนี้และเผยแพร่ความรู้สู่ สาธารณชน


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


จากจุดเริ่มต้นจุดเล็กๆ พวกเขาเติบโตขึ้นพร้อมกับความสามารถที่เพิ่มขึ้นตาม การรวมวงซ้อมดนตรีอย่างจริงจังและสม่ำเสมอ ประกอบกับการดูแลฝึกซ้อมจากบุคคลากรทางดนตรีทั้งคนไทยและต่างประเทศ ที่มีความรักและเข้าใจในเด็กกลุ่มนี้ วงด็อกเตอร์แซค เชมเบอร์ ออร์เคสตร้า ผ่านการแสดงดนตรีในโอกาสต่างๆ ทั้งเวทีระดับชาติและนานาชาติ ปัจจุบันมีผลงานบันทึกเสียงในรูปแบบซีดีจำนวน 4 อัลบั้ม คือ อัลบั้มชุดร่วมกันทำ (พ.ศ. 2535) อัลบั้มชุดBlue Danube (พ.ศ. 2544) อัลบั้มชุดศรีอยุธยา (พ.ศ. 2545) อัลบั้มชุดกฤดาอภินิหาร (พ.ศ. 2546) และล่าสุดคว้ารางวัลชนะเลิศวงดนตรีเยาวชนคลาสสิคระดับนานาชาติ ในงาน International Youth Chamber Music Competition 2005 (IYCC) ที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์
จากจุดเริ่มต้นจุดเล็กๆ พวกเขาเติบโตขึ้นพร้อมกับความสามารถที่เพิ่มขึ้นตาม การรวมวงซ้อมดนตรีอย่างจริงจังและสม่ำเสมอ ประกอบกับการดูแลฝึกซ้อมจากบุคคลากรทางดนตรีทั้งคนไทยและต่างประเทศ ที่มีความรักและเข้าใจในเด็กกลุ่มนี้ วงด็อกเตอร์แซค เชมเบอร์ ออร์เคสตร้า ผ่านการแสดงดนตรีในโอกาสต่างๆ ทั้งเวทีระดับชาติและนานาชาติ
== ผลงานการบันทึกเสียง ==


ปัจจุบันมีผลงานบันทึกเสียงในรูปแบบซีดีจำนวน 7 อัลบั้ม คือ
== โครงการพรสวรรค์ศึกษา ==
*อัลบั้มชุดร่วมกันทำ (“Together” October – November 2000)
Conductor: Mr. Sittichai Pengcharoen)
*อัลบั้มชุดBlue Danube (“Blue Danube” April - May 2001)
Conductor: Prof. Hermann Dechant
*อัลบั้มชุดศรีอยุธยา (“Sri Ayuthaya” April 2002)
Conductor: Prof. Hermann Dechant
*อัลบั้มชุดกฤดาอภินิหาร (“Kridapiniharn” April 2003)
Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM
Guest Conductor: Mr. Juris Madrevich
*อัลบั้มคลาสสิคสุนทราภรณ์ (“Classic Sunetaraporn” April 2004)
Special Project: Standard Thai Contemporary Music
Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM
*อัลบั้ม The Four Seasons (“The Four Seasons” October 2004)
Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM
Guest Conductor: Mr.Johannes Mertl
*อัลบั้มสมานฉันท์ (“Samanachan” March – April 2005)
Special Project: Asian Songs
Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM
*อัลบั้ม Dr.Sax Chamber Orchestra (“Dr.Sax Chamber Orchestra” April - May 2006)
Conductor: Gudni A.Emilsson


พรสวรรค์สร้างได้ ไม่ต้องคอยเทวดา เป็นงานวิจัยที่ได้ค้นคว้าด้านความสามารถและความถนัดทางด้านดนตรีของเด็ก ซึ่งศึกษาจากชีวิตจริง การปฏิบัติจริงของเด็ก จากเด็กที่สมัครใจเรียนวิชาดนตรีเป็นพิเศษ เมื่อเด็กมีฝีมือพอจะจัดรวมเป็นวงได้ก็รวมกันเป็นวง เริ่มต้นจากเป็นวงดนตรีที่ไม่อยู่ในสารบบ กล่าวคือไม่กำหนดว่ามีกี่คน ไม่กำหนดเครื่องดนตรีที่เล่น ต่อมาได้จัดให้เป็น วงเชมเบอร์ออร์เคสตร้า เป็นวงทดลองเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวและความเปลี่ยนแปลงของเด็ก เก็บข้อมูลการเรียนดนตรีและสะท้อนออกมาเป็นเอกสาร รวมถึงการแสดงดนตรีในรูปแบบคอนเสิร์ต การแสดงดนตรีประกอบคำบรรยาย การแสดงดนตรีต่อหน้าสาธารณชน และการบันทึกซีดี เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลทางการ ศึกษาด้านพัฒนาการ ของเด็กกลุ่มนี้และเผยแพร่ความรู้สู่ สาธารณชน



== รางวัล และเกียรติประวัติ ==

วงด็อกเตอร์แซ็ก เชมเบอร์ออร์เคสตร้า วงคว้ารางวัลชนะเลิศวงดนตรีเยาวชนคลาสสิคระดับนานาชาติ ในงาน International Youth Chamber Music Competition 2005 (IYCC) ที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์

== การแสดงคอนเสิร์ตที่ต่างประเทศ ==
*Hungary (April 2000)
*Austria (May 2004)
*China (October 2005)
*Canada (March 2006)
*Germany (April 2006, July 2007)
*Switzerland (July 2007)
*Italy (July 2008)


== สมาชิกในวง ==
== สมาชิกในวง ==
(ข้อมูลเมื่อ มีนาคม 2550)
(ข้อมูลเมื่อ กรกฎาคม 2550)


'''ไวโอลิน 1'''
ไวโอลิน 1
#1.นางสาวผ่องพรรณ อังคสุภณ (เบียร์) อายุ 24 ปี
*นางสาวผ่องพรรณ อังคสุภณ (เบียร์) อายุ 24 ปี
จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาระดับปริญญาโทที่ [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาระดับปริญญาโทที่ [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#2. นางสาววิศนี วงศ์วิรุฬห์ (แป้ง) อายุ 18 ปี
*นางสาววิศนี วงศ์วิรุฬห์ (แป้ง) อายุ 18 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#3. นายสุภัทร จันทวีระ (แอ๊ด) อายุ 23 ปี
*นายสุภัทร จันทวีระ (แอ๊ด) อายุ 23 ปี
จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#4. นาย ชลัฐ ลิมปิศิริ(ซอ) อายุ 19 ปี
*นาย ชลัฐ ลิมปิศิริ(ซอ) อายุ 19 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#5. เด็กหญิงพิชานิกา อารีราษฎร์(น้ำ) อายุ 14 ปี
*เด็กหญิงพิชานิกา อารีราษฎร์(น้ำ) อายุ 14 ปี
กำลังศึกษาที่ โรงเรียนราชินี
กำลังศึกษาที่ โรงเรียนราชินี




'''ไวโอลิน 2'''
ไวโอลิน 2
#1. นางสาวกมลมาศ เจริญสุข (ฟาง)อายุ 21 ปี
*นางสาวกมลมาศ เจริญสุข (ฟาง)อายุ 21 ปี
กำลังศึกษา สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 4 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษา สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 4 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#2. นางสาวปุญญวาสน์ มโนมัยพิบูลย์ (จ๋า) อายุ 18 ปี
*นางสาวปุญญวาสน์ มโนมัยพิบูลย์ (จ๋า) อายุ 18 ปี
กำลังศึกษา สาขา ICT มหาวิทยาลัยมหิดล
กำลังศึกษา สาขา ICT มหาวิทยาลัยมหิดล
#3. นางสาวสารินท์ อภิศักดิ์ศิริกุล (ทราย) อายุ 20 ปี
*นางสาวสารินท์ อภิศักดิ์ศิริกุล (ทราย) อายุ 20 ปี
กำลังศึกษาที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2
กำลังศึกษาที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2
#4. นางสาวเพียงพิมพ์ จิรัญญากุล (พักตร์) อายุ 20 ปี
*นางสาวเพียงพิมพ์ จิรัญญากุล (พักตร์) อายุ 20 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#5. นางสาวกรุณา บุญยืน (หนูนา) อายุ 19 ปี
*นางสาวกรุณา บุญยืน (หนูนา) อายุ 19 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]




'''วิโอลา'''
วิโอลา
#1. นายจักรกฤษ เจริญสุข (แซ็ก) อายุ 24 ปี
*นายจักรกฤษ เจริญสุข (แซ็ก) อายุ 24 ปี
จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก[[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก[[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#2. นายพงษ์เทพ จิตดวงเปรม อายุ 19 ปี
*นายพงษ์เทพ จิตดวงเปรม อายุ 19 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#3. นายสุวิจักขณ์ โชติกูล (เป๊ป) อายุ 19 ปี
*นายสุวิจักขณ์ โชติกูล (เป๊ป) อายุ 19 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#4. นายกันต์กวี กิจบำรุง(มอส) อายุ 20 ปี
*นายกันต์กวี กิจบำรุง(มอส) อายุ 20 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]




'''เชลโล'''
เชลโล
#1.นางสาวตปาลิน เจริญสุข (ซอย) อายุ 20 ปี
*นางสาวตปาลิน เจริญสุข (ซอย) อายุ 20 ปี
กำลังศึกษาที่ประเทศเยอรมันนี
กำลังศึกษาที่ประเทศเยอรมันนี
#2. นายพงษพัฒน์ อังคสุภณ (บอม) อายุ 21 ปี
*นายพงษพัฒน์ อังคสุภณ (บอม) อายุ 21 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 3 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 3 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
#3. นายปุญญวีร์ มโนมัยพิบูลย์(เจ) อายุ 16 ปี
*นายปุญญวีร์ มโนมัยพิบูลย์(เจ) อายุ 16 ปี
กำลังศึกษาที่ โรงเรียนเซ็นคาเบรียล
กำลังศึกษาที่ โรงเรียนเซ็นคาเบรียล
#4. เด็กชายอานิก เวพาสยนันท์ (นิก) อายุ 13 ปี
*เด็กชายอานิก เวพาสยนันท์ (นิก) อายุ 13 ปี
กำลังศึกษาที่ Harrow International School
กำลังศึกษาที่ Harrow International School


'''ดับเบิ้ลเบส'''
ดับเบิ้ลเบส
#1. นายศิววุฒิ วัฒนวงษ์คีรี(เอ็ม) อายุ 19 ปี
*นายศิววุฒิ วัฒนวงษ์คีรี(เอ็ม) อายุ 19 ปี
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:11, 29 กรกฎาคม 2551

วงด็อกเตอร์แซ็ก แชมเบอร์ออร์เคสตรา (Dr. Sax Chamber Orchestra) เป็นวงดนตรีเยาวชน เพื่อฝึกฝนความสามารถด้านดนตรีคลาสสิก ในโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา ของโรงเรียนสอนดนตรีเอื้อมอารีย์ ก่อตั้งโดย สุกรี เจริญสุข ผู้อำนวยการวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2540 โดยมุ่งเน้นให้ผู้เล่นได้รับประสบการณ์แสดงดนตรี และได้รับการฝึกฝนจากอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ จัดให้มีการแสดงสด และบันทึกเสียงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้เล่นสามารถนำไปประกอบอาชีพในระดับสากลได้

วงด็อกเตอร์แซ็ก เชมเบอร์ออร์เคสตร้า มีผู้อำนวยเพลงและผู้เรียบเรียงเพลงประจำวง คือ ร้อยเอกประทีป สุพรรณโรจน์ ได้รับรางวัลที่ 1 จากการประกวดดนตรีนานาชาติ ณ เมืองอินเทอลาเคน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2548 มีผู้เข้าแข่งขันจำนวน 21 วง จาก 8 ประเทศ

ชื่อวง "Dr. Sax" มาจากฉายาของ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ผู้ก่อตั้งวง ซึ่งจบปริญญาเอกสาขาการเล่นและการสอนแซ็กโซโฟน จากมหาวิทยาลัยนอร์เทิร์น โคโลราโด สหรัฐอเมริกา

วงด็อกเตอร์แซ็ก เชมเบอร์ออร์เคสตร้า เป็นวงดนตรีเพื่อประกอบการเรียนการสอนดนตรีเด็กของโรงเรียนสอนดนตรีเอื้อมอารีย์ (Dr. Sax School of Music) และอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา ของ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ผู้อำนวยการโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา โดยอาศัยปรัชญาและแนวความคิดใหม่ที่ว่า “ดนตรีเพื่อเด็กทุกคนและเด็กทุกคนควรมีโอกาสเรียนดนตรี” เพื่อให้ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เมื่อเด็กได้เรียนดนตรีแล้ว ไม่จำเป็นว่าเด็กจะต้องประกอบอาชีพเป็นนักดนตรีเท่านั้น เด็กสามารถเรียนรู้เพื่อความสุขส่วนตัว เรียนรู้เพื่อความมีรสนิยม เป็นผู้มีวัฒนธรรม โดยอาศัยดนตรีเป็นสื่อ เมื่อพ่อแม่ยอมให้ลูกไปเรียนดนตรี กระทั่งดนตรี ดึงให้เด็กสนใจดนตรีมากขึ้น เด็กดึงพ่อแม่ให้มาสนใจกิจกรรม ดนตรี พ่อแม่ลูกสนใจดนตรี ทุกคนในครอบครัวสนใจเรื่อง เดียวกัน ทุกคนสนใจซึ่งกันและกัน ทุกคนก็จะมีความสุข

การรวมวง เป็นกิจกรรมดนตรีอย่างหนึ่งที่ทำให้เด็กได้ "เรียนดนตรีโดยการเล่น" และมีกิจกรรมที่กระตุ้นให้เด็กได้ฝึกซ้อมและมีแรงบันดาลใจที่จะเล่นดนตรีให้ดีที่สุดเต็มความสามารถ ดังนั้น วงด็อกเตอร์ แซค เชมเบอร์ ออร์เคสตร้า จึงได้เกิดการรวมตัวเป็นวงเมื่อประมาณปลายปี พ.ศ. 2540 เด็กๆ มาฝึกซ้อมกันทุกวันอาทิตย์เวลา 18.00 – 20.00 น.

โครงการพรสวรรค์ศึกษา

พรสวรรค์สร้างได้ ไม่ต้องคอยเทวดา เป็นงานวิจัยที่ได้ค้นคว้าด้านความสามารถและความถนัดทางด้านดนตรีของเด็ก ซึ่งศึกษาจากชีวิตจริง การปฏิบัติจริงของเด็ก จากเด็กที่สมัครใจเรียนวิชาดนตรีเป็นพิเศษ เมื่อเด็กมีฝีมือพอจะจัดรวมเป็นวงได้ก็รวมกันเป็นวง เริ่มต้นจากเป็นวงดนตรีที่ไม่อยู่ในสารบบ กล่าวคือไม่กำหนดว่ามีกี่คน ไม่กำหนดเครื่องดนตรีที่เล่น ต่อมาได้จัดให้เป็น วงเชมเบอร์ออร์เคสตร้า เป็นวงทดลองเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวและความเปลี่ยนแปลงของเด็ก เก็บข้อมูลการเรียนดนตรีและสะท้อนออกมาเป็นเอกสาร รวมถึงการแสดงดนตรีในรูปแบบคอนเสิร์ต การแสดงดนตรีประกอบคำบรรยาย การแสดงดนตรีต่อหน้าสาธารณชน และการบันทึกซีดี เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลทางการ ศึกษาด้านพัฒนาการ ของเด็กกลุ่มนี้และเผยแพร่ความรู้สู่ สาธารณชน

ประวัติ

จากจุดเริ่มต้นจุดเล็กๆ พวกเขาเติบโตขึ้นพร้อมกับความสามารถที่เพิ่มขึ้นตาม การรวมวงซ้อมดนตรีอย่างจริงจังและสม่ำเสมอ ประกอบกับการดูแลฝึกซ้อมจากบุคคลากรทางดนตรีทั้งคนไทยและต่างประเทศ ที่มีความรักและเข้าใจในเด็กกลุ่มนี้ วงด็อกเตอร์แซค เชมเบอร์ ออร์เคสตร้า ผ่านการแสดงดนตรีในโอกาสต่างๆ ทั้งเวทีระดับชาติและนานาชาติ

ผลงานการบันทึกเสียง

ปัจจุบันมีผลงานบันทึกเสียงในรูปแบบซีดีจำนวน 7 อัลบั้ม คือ

  • อัลบั้มชุดร่วมกันทำ (“Together” October – November 2000)

Conductor: Mr. Sittichai Pengcharoen)

  • อัลบั้มชุดBlue Danube (“Blue Danube” April - May 2001)

Conductor: Prof. Hermann Dechant

  • อัลบั้มชุดศรีอยุธยา (“Sri Ayuthaya” April 2002)

Conductor: Prof. Hermann Dechant

  • อัลบั้มชุดกฤดาอภินิหาร (“Kridapiniharn” April 2003)

Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM Guest Conductor: Mr. Juris Madrevich

  • อัลบั้มคลาสสิคสุนทราภรณ์ (“Classic Sunetaraporn” April 2004)

Special Project: Standard Thai Contemporary Music Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM

  • อัลบั้ม The Four Seasons (“The Four Seasons” October 2004)

Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM Guest Conductor: Mr.Johannes Mertl

  • อัลบั้มสมานฉันท์ (“Samanachan” March – April 2005)

Special Project: Asian Songs Conductor: Lt. Prateep Suphanrojn BA LRSM

  • อัลบั้ม Dr.Sax Chamber Orchestra (“Dr.Sax Chamber Orchestra” April - May 2006)

Conductor: Gudni A.Emilsson


รางวัล และเกียรติประวัติ

วงด็อกเตอร์แซ็ก เชมเบอร์ออร์เคสตร้า วงคว้ารางวัลชนะเลิศวงดนตรีเยาวชนคลาสสิคระดับนานาชาติ ในงาน International Youth Chamber Music Competition 2005 (IYCC) ที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์

การแสดงคอนเสิร์ตที่ต่างประเทศ

  • Hungary (April 2000)
  • Austria (May 2004)
  • China (October 2005)
  • Canada (March 2006)
  • Germany (April 2006, July 2007)
  • Switzerland (July 2007)
  • Italy (July 2008)

สมาชิกในวง

(ข้อมูลเมื่อ กรกฎาคม 2550)

ไวโอลิน 1

  • นางสาวผ่องพรรณ อังคสุภณ (เบียร์) อายุ 24 ปี

จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล กำลังศึกษาระดับปริญญาโทที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นางสาววิศนี วงศ์วิรุฬห์ (แป้ง) อายุ 18 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นายสุภัทร จันทวีระ (แอ๊ด) อายุ 23 ปี

จบการศึกษา สาขา Music Performance จาก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นาย ชลัฐ ลิมปิศิริ(ซอ) อายุ 19 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • เด็กหญิงพิชานิกา อารีราษฎร์(น้ำ) อายุ 14 ปี

กำลังศึกษาที่ โรงเรียนราชินี


ไวโอลิน 2

  • นางสาวกมลมาศ เจริญสุข (ฟาง)อายุ 21 ปี

กำลังศึกษา สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นางสาวปุญญวาสน์ มโนมัยพิบูลย์ (จ๋า) อายุ 18 ปี

กำลังศึกษา สาขา ICT มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นางสาวสารินท์ อภิศักดิ์ศิริกุล (ทราย) อายุ 20 ปี

กำลังศึกษาที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2

  • นางสาวเพียงพิมพ์ จิรัญญากุล (พักตร์) อายุ 20 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นางสาวกรุณา บุญยืน (หนูนา) อายุ 19 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล


วิโอลา

  • นายจักรกฤษ เจริญสุข (แซ็ก) อายุ 24 ปี

จบการศึกษา สาขา Music Performance จากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นายพงษ์เทพ จิตดวงเปรม อายุ 19 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นายสุวิจักขณ์ โชติกูล (เป๊ป) อายุ 19 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นายกันต์กวี กิจบำรุง(มอส) อายุ 20 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล


เชลโล

  • นางสาวตปาลิน เจริญสุข (ซอย) อายุ 20 ปี

กำลังศึกษาที่ประเทศเยอรมันนี

  • นายพงษพัฒน์ อังคสุภณ (บอม) อายุ 21 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • นายปุญญวีร์ มโนมัยพิบูลย์(เจ) อายุ 16 ปี

กำลังศึกษาที่ โรงเรียนเซ็นคาเบรียล

  • เด็กชายอานิก เวพาสยนันท์ (นิก) อายุ 13 ปี

กำลังศึกษาที่ Harrow International School

ดับเบิ้ลเบส

  • นายศิววุฒิ วัฒนวงษ์คีรี(เอ็ม) อายุ 19 ปี

กำลังศึกษาที่ สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อ้างอิง