ผลต่างระหว่างรุ่นของ "The Young Person’s Guide to the Orchestra"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Voraprachw (คุย | ส่วนร่วม)
Voraprachw (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


Britten ทำงานให้กับ Crown Film Unit ที่ๆซึ่งเขาได้ประพันธ์บทเพลง The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 สำหรับภาพยนตร์สารคดี เรื่อง Instruments of the Orchestra ซึ่งบริการงานโดย BBC เพื่อใช้สำหรับการศึกษาวิชาดนตรีสำหรับเยาวชน เขาเริ่มต้นแต่งบทเพลงนี้ในช่วงกลางเดือนธันวาคม ปี 1945 จนกระทั่งถึงเที่ยงคืนของคืนก่อนวันปีใหม่ ถึงแม้ว่าภาพยนตร์สารคดีชุดนี้ได้ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ปี 1946 ภายใต้การแสดงโดยวง London Symphony Orchestra ภายใต้การควบคุมวงและบรรยายโดย Malcolm Sargent ผลงานชิ้นนี้ได้รับการเผยแพร่สู่บุคคลทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อ 15 ตุลาคม 1946 ภายใต้การแสดงของวง Liverpool Philharmonic Orchestra ควบคุมวงโดย Malcolm Sargent และมี Eric Crozier เป็นผู้บรรยาย ผู้บรรยายมีหน้าที่พรรณาบทบาทและลักษณะเด่นของเครื่องดนตรี Orchestra ในแต่ละส่วน ซึ่งจะแสดงออกด้วยการแสดงความสามารถอย่างหลากหลายด้วยผลงานของ Britten ผลงานชิ้นนี้เป็นที่นิยมและได้รับการแสดงซ้ำอย่างสม่ำเสมอโดยปราศจากผู้บรรยายที่จะต้องแนะนำเครื่องดนตรีให้กับผู้ฟังเพื่อที่จะได้รู้จักกับเครื่องดนตรีของวง orchestra อีกต่อไป
[[บริทเทน]]ทำงานให้กับ Crown Film Unit ที่ๆซึ่งเขาได้ประพันธ์บทเพลง The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 สำหรับภาพยนตร์สารคดี เรื่อง Instruments of the Orchestra ซึ่งบริการงานโดย BBC เพื่อใช้สำหรับการศึกษาวิชาดนตรีสำหรับเยาวชน เขาเริ่มต้นแต่งบทเพลงนี้ในช่วงกลางเดือนธันวาคม ปี 1945 จนกระทั่งถึงเที่ยงคืนของคืนก่อนวันปีใหม่ ถึงแม้ว่าภาพยนตร์สารคดีชุดนี้ได้ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ปี 1946 ภายใต้การแสดงโดยวง London Symphony Orchestra ภายใต้การควบคุมวงและบรรยายโดย Malcolm Sargent ผลงานชิ้นนี้ได้รับการเผยแพร่สู่บุคคลทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อ 15 ตุลาคม 1946 ภายใต้การแสดงของวง Liverpool Philharmonic Orchestra ควบคุมวงโดย Malcolm Sargent และมี Eric Crozier เป็นผู้บรรยาย ผู้บรรยายมีหน้าที่พรรณาบทบาทและลักษณะเด่นของเครื่องดนตรี[[ออร์เคสตรา]]ในแต่ละส่วน ซึ่งจะแสดงออกด้วยการแสดงความสามารถอย่างหลากหลายด้วยผลงานของ[[บริทเทน]]ผลงานชิ้นนี้เป็นที่นิยมและได้รับการแสดงซ้ำอย่างสม่ำเสมอโดยปราศจากผู้บรรยายที่จะต้องแนะนำเครื่องดนตรีให้กับผู้ฟังเพื่อที่จะได้รู้จักกับเครื่องดนตรีของวง[[ออร์เคสตรา]]อีกต่อไป


บทบรรยายถูกแต่งขึ้นโดยเพื่อนของ Britten ที่ชื่อว่า Eric Crozier เพื่อที่จะให้ถูกบอกเล่าโดยผู้ควบคุมวงหรือผู้บอกเล่าต่างหาก ตลอดระยะเวลาของการแสดง ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว Britten ได้แต่งเพลงนี้ไว้ 2 แบบ คือแบบมีผู้บรรยายและแบบไม่มีผู้บรรยาย แต่แบบที่ไม่มีผู้บรรยายกลับได้รับความนิยมมากกว่าแบบที่มีผู้บรรยาย
บทบรรยายถูกแต่งขึ้นโดยเพื่อนของ[[บริทเทน]]ที่ชื่อว่า Eric Crozier เพื่อที่จะให้ถูกบอกเล่าโดยผู้ควบคุมวงหรือผู้บอกเล่าต่างหาก ตลอดระยะเวลาของการแสดง ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว [[บริทเทน]]ได้แต่งเพลงนี้ไว้ 2 แบบ คือแบบมีผู้บรรยายและแบบไม่มีผู้บรรยาย แต่แบบที่ไม่มีผู้บรรยายกลับได้รับความนิยมมากกว่าแบบที่มีผู้บรรยาย


ถึงแม้ว่าผู้ประพันธ์จะไม่มีบุตรเป็นของตนเอง แต่ด้วยเหตุผลใดไม่ปรากฏ เขาได้แต่งบทเพลงนี้เพื่อจารึกด้วยความรักแด่เด็กๆของ John and Jean Maud - Humphrey, Pamela, Caroline และ Virginia เพื่อใช้สำหรับการขัดเกลาจิตใจ และเพื่อความเพลิดเพลิน
ถึงแม้ว่าผู้ประพันธ์จะไม่มีบุตรเป็นของตนเอง แต่ด้วยเหตุผลใดไม่ปรากฏ เขาได้แต่งบทเพลงนี้เพื่อจารึกด้วยความรักแด่เด็กๆของ John and Jean Maud - Humphrey, Pamela, Caroline และ Virginia เพื่อใช้สำหรับการขัดเกลาจิตใจ และเพื่อความเพลิดเพลิน


The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 ถูกแต่งขึ้นเพื่อแสดงความสามารถในแต่ละส่วนของเครื่องดนตรี อย่างไรก็ตาม Britten ได้มองการณ์ไกล จึงได้แต่งบทเพลงนี้เผื่อไว้เพื่อที่จะให้เครื่องดนตรีแต่ละชนิดสามารถที่จะแสดงได้โดยไม่ต้องมีผู้บรรยาย แต่กระนั้นบทเพลงนี้ก็ยังคงหลงเหลือเสน่ห์และความน่าสนใจกับเยาวชนและผู้ที่ยังมีความเป็นเด็กอยู่ในจิตใจ
The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 ถูกแต่งขึ้นเพื่อแสดงความสามารถในแต่ละส่วนของเครื่องดนตรี อย่างไรก็ตาม [บริทเทน]]ได้มองการณ์ไกล จึงได้แต่งบทเพลงนี้เผื่อไว้เพื่อที่จะให้เครื่องดนตรีแต่ละชนิดสามารถที่จะแสดงได้โดยไม่ต้องมีผู้บรรยาย แต่กระนั้นบทเพลงนี้ก็ยังคงหลงเหลือเสน่ห์และความน่าสนใจกับเยาวชนและผู้ที่ยังมีความเป็นเด็กอยู่ในจิตใจ


ผู้ประพันธ์ ได้ประพันธ์แต่ละส่วนของบทเพลง ได้อย่างพิเศษที่สุดเพื่อที่จะแนะนำ ให้ผู้ฟังได้รู้จักกับเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงสำหรับบทเพลงออร์เครสตรา โดยมีผู้เล่น 4 ส่วน
ผู้ประพันธ์ ได้ประพันธ์แต่ละส่วนของบทเพลง ได้อย่างพิเศษที่สุดเพื่อที่จะแนะนำ ให้ผู้ฟังได้รู้จักกับเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงสำหรับบทเพลงออร์เครสตรา โดยมีผู้เล่น 4 ส่วน


# ส่วนของเครื่องสาย STRINGS
# [[ส่วนของเครื่องสาย]]
# ส่วนของเครื่องเป่าลมไม้ WOODWIND
# [[ส่วนของเครื่องเป่าลมไม้]]
# ส่วนของเครื่องเป่าทองเหลือง BRASS
# [[ส่วนของเครื่องเป่าทองเหลือง]]
# ส่วนของเครื่องประกอบจังหวะ PERCUSSION
# [[ส่วนของเครื่องประกอบจังหวะ]]



== เครื่องดนตรีที่ใช้ในการแสดง ==
== เครื่องดนตรีที่ใช้ในการแสดง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:45, 28 กรกฎาคม 2551

The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 (1946) by Benjamin Britten (1913-1976)

หนึ่งในผลงานเพลง Orchestra ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดี ซึ่งได้ประพันธ์ขึ้นเป็นพิเศษสำหรับผู้ฟังรุ่นเยาว์ซึ่งประพันธ์โดย Benjamin Britten มีชื่อว่า The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 โดยการใช้ทำนองหลักของ Purcell’s จากบทเพลงAbdelazer (The Moor’s Revenge) ซึ่งเริ่มต้นและจบลงด้วยการ overview ของเครื่องดนตรี Orchestra ทั้งหมด สอดแทรกด้วยการสาธิตความสามารถของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้น ผลงานชิ้นนี้เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักประพันธ์เพลง และจัดเป็น 1 ใน 3 ผลงานเพลงยอดนิยม ที่ถูกนำมาใช้สำหรับสอนวิชาดนตรีให้กับเยาวชน ร่วมกันกับอีก 2 บทเพลงคือ Saint-Saëns' The Carnival of the Animals และ Prokofiev's Peter and the Wolf.

ประวัติ

บริทเทนทำงานให้กับ Crown Film Unit ที่ๆซึ่งเขาได้ประพันธ์บทเพลง The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 สำหรับภาพยนตร์สารคดี เรื่อง Instruments of the Orchestra ซึ่งบริการงานโดย BBC เพื่อใช้สำหรับการศึกษาวิชาดนตรีสำหรับเยาวชน เขาเริ่มต้นแต่งบทเพลงนี้ในช่วงกลางเดือนธันวาคม ปี 1945 จนกระทั่งถึงเที่ยงคืนของคืนก่อนวันปีใหม่ ถึงแม้ว่าภาพยนตร์สารคดีชุดนี้ได้ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ปี 1946 ภายใต้การแสดงโดยวง London Symphony Orchestra ภายใต้การควบคุมวงและบรรยายโดย Malcolm Sargent ผลงานชิ้นนี้ได้รับการเผยแพร่สู่บุคคลทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อ 15 ตุลาคม 1946 ภายใต้การแสดงของวง Liverpool Philharmonic Orchestra ควบคุมวงโดย Malcolm Sargent และมี Eric Crozier เป็นผู้บรรยาย ผู้บรรยายมีหน้าที่พรรณาบทบาทและลักษณะเด่นของเครื่องดนตรีออร์เคสตราในแต่ละส่วน ซึ่งจะแสดงออกด้วยการแสดงความสามารถอย่างหลากหลายด้วยผลงานของบริทเทนผลงานชิ้นนี้เป็นที่นิยมและได้รับการแสดงซ้ำอย่างสม่ำเสมอโดยปราศจากผู้บรรยายที่จะต้องแนะนำเครื่องดนตรีให้กับผู้ฟังเพื่อที่จะได้รู้จักกับเครื่องดนตรีของวงออร์เคสตราอีกต่อไป

บทบรรยายถูกแต่งขึ้นโดยเพื่อนของบริทเทนที่ชื่อว่า Eric Crozier เพื่อที่จะให้ถูกบอกเล่าโดยผู้ควบคุมวงหรือผู้บอกเล่าต่างหาก ตลอดระยะเวลาของการแสดง ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว บริทเทนได้แต่งเพลงนี้ไว้ 2 แบบ คือแบบมีผู้บรรยายและแบบไม่มีผู้บรรยาย แต่แบบที่ไม่มีผู้บรรยายกลับได้รับความนิยมมากกว่าแบบที่มีผู้บรรยาย

ถึงแม้ว่าผู้ประพันธ์จะไม่มีบุตรเป็นของตนเอง แต่ด้วยเหตุผลใดไม่ปรากฏ เขาได้แต่งบทเพลงนี้เพื่อจารึกด้วยความรักแด่เด็กๆของ John and Jean Maud - Humphrey, Pamela, Caroline และ Virginia เพื่อใช้สำหรับการขัดเกลาจิตใจ และเพื่อความเพลิดเพลิน

The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op. 34 ถูกแต่งขึ้นเพื่อแสดงความสามารถในแต่ละส่วนของเครื่องดนตรี อย่างไรก็ตาม [บริทเทน]]ได้มองการณ์ไกล จึงได้แต่งบทเพลงนี้เผื่อไว้เพื่อที่จะให้เครื่องดนตรีแต่ละชนิดสามารถที่จะแสดงได้โดยไม่ต้องมีผู้บรรยาย แต่กระนั้นบทเพลงนี้ก็ยังคงหลงเหลือเสน่ห์และความน่าสนใจกับเยาวชนและผู้ที่ยังมีความเป็นเด็กอยู่ในจิตใจ

ผู้ประพันธ์ ได้ประพันธ์แต่ละส่วนของบทเพลง ได้อย่างพิเศษที่สุดเพื่อที่จะแนะนำ ให้ผู้ฟังได้รู้จักกับเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงสำหรับบทเพลงออร์เครสตรา โดยมีผู้เล่น 4 ส่วน

  1. ส่วนของเครื่องสาย
  2. ส่วนของเครื่องเป่าลมไม้
  3. ส่วนของเครื่องเป่าทองเหลือง
  4. ส่วนของเครื่องประกอบจังหวะ

เครื่องดนตรีที่ใช้ในการแสดง

  • Piccolo
  • 2 Flutes
  • 2 Oboes
  • 2 Clarinets in B flat and A
  • 2 Bassoons
  • 4 Horns in F
  • 2 Trumpets in C
  • 3 Trombones
  • Tuba
  • Percussion (Timpani, Bass Drum, Cymbals, Tambourine, Triangle, Side Drum, Wood Block, Xylophone, Castanets, Tam-Tam, Whip)
  • Harp
  • Strings

โครงสร้างของบทเพลง

Theme: Allegro maestoso e largamente

Variation A: Presto

                    Piccolo and Flute 

Variation B: Lento

                    Oboes/Cor Anglais 

Variation C: Moderato

                    Clarinets 

Variation D: Allegro alla marcia

                    Bassoons 

Variation E: Brillante: alla polacca

                    Violins 

Variation F: Meno mosso

                    Violas 

Variation G: -

                    Cellos 

Variation H: Cominciando lento ma poco a poco accel. al Allegro

                    Double Basses 

Variation I: Maestoso

                    Harp 

Variation J: L'istesso tempo

                    Horns 

Variation K: Vivace

                    Trumpets 

Variation L: Allegro pomposo

                    Trombones and tuba 

Variation M: Moderato

                    Percussion 

Fugue: Allegro molto


ผลงานนี้อ้างอิงแนวเพลงจากเพลง Abdelazar ซึ่งประพันธ์โดยเฮนรี เพอร์เชลล์ซึ่งจะเล่นโดยเครื่องดนตรีวงออร์เคสตราทั้งหมดในตอนต้นเพลง และต่อเนื่องมาด้วยการแสดงเป็นส่วนๆโดยแบ่งตามประเภทของเครื่องดนตรี โดยเริ่มจาก เครื่องเป่าลมไม้ตามมาด้วยเครื่องลมทองเหลืองและเครื่องสายและปิดท้ายด้วยการแสดงของเครื่องประกอบจังหวะ

หลังจากผ่านช่วงแนะนำความแตกต่างของดนตรีแต่ละประเภทแล้วก็จะกลับมาซ้ำใหม่ในช่วงต้นเพลง คราวนี้จะเริ่มเจาะลึกลงไปให้รู้จักเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นของเครื่องดนตรีในแต่ละประเภท ด้วยความหลากหลายในแนวเพลงที่แสดงโดยเครื่องดนตรีทีละชนิด แม้ว่าจะเริ่มต้นด้วยการนำเสนอด้วยปิคโคโลและฟลูทแต่ภายใต้โครงสร้างของบทเพลงที่จัดการโดย harp และทีมเครื่องสาย สมาชิกของตระกูลเครื่องเป่าลมไม้จะบรรเลงในช่วงของแต่ละชนิดเครื่องดนตรี เน้นหน่วยเสียงของแต่ละเครื่องดนตรี และรูปแบบนี้ก็จะถูกทำแบบเดียวกันเมื่อถึงคราวแสดงของทีมเครื่องสาย ทีมเครื่องเป่าทองเหลือง และทีมเครื่องประกอบจังหวะ เดินบทเพลงผ่านความหลากหลายและเปลี่ยนแปลงของเครื่องดนตรีของตน

เมื่อเครื่องดนตรีทั้งหมดได้แสดงแล้ว ก็กลับมาร่วมกันบรรเลงเพลงประกอบด้วยลูกเดี่ยวจากเครื่องดนตรีแต่ละชนิด ซึ่งเริ่มด้วยปิคโคโลตามมาด้วยเครื่องเป่าลมไม้ทั้งหมด เครื่องสาย เครื่องเป่าทองเหลืองและเครื่องประกอบจังหวะ เมื่อครบแล้วเครื่องเป่าทองเหลืองจะเริ่มบรรเลงเพลงดั้งเดิมของเพอร์เชลล์ขณะเดียวกันพวกที่เหลือจะแสดงต่อเนื่องเพลงประกอบด้วยลูกเดี่ยวจากเครื่องดนตรีแต่ละชนิด จนกระทั่งชิ้นสุดท้ายได้แสดงเสร็จก็จะถึงช่วงจบที่เรียกว่าฟอร์ติสสิโม(ให้เล่นดังเต็มที่)

บทบรรยาย (Narration)

First you will hear a Theme by the great English composer, Henry Purcell, played by the whole orchestra and by each one of the four groups of instruments.

เริ่มต้น ท่านจะได้ยินทำนองหลักของเพลงซึ่งประพันธ์โดยนักประพันธ์ผู้ยิ่งใหญ่ชาวอังกฤษเฮนรี เพอร์เชลล์บรรเลงร่วมกันโดยเครื่องดนตรีทุกชิ้นของวงออร์เครสตรา และแต่ละกลุ่มของเครื่องดนตรีทั้ง 4 กลุ่ม


Theme A (Full Orchestra)


The WOODWIND are superior versions of the penny-whistle. They are made of wood.

เครื่องเป่าลมไม้เป็นรูปแบบพิเศษของเครื่องเป่าแบบพื้นๆทั่วไป พวกมันทำมาจากไม้

Theme B (Woodwind) 

The first BRASS instruments were trumpets and hunting-horns. These are their modern descendants.

เครื่องเป่าลมทองเหลืองชิ้นแรกคือทรัมเปต และแตรล่าสัตว์ ซึ่งยังคงสืบทอดรูปแบบอันทันสมัยสืบต่อกันมา

Theme C (Brass) 

The STRINGS, large and small, are scraped with a bow or plucked with the fingers. Their cousin the Harp is always plucked.

เครื่องสายทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ใช้การดีดด้วยที่ดีดหรือนิ้วมือ ในขณะที่ ฮาร์ป ใช้การดึงสายเสมอ

Theme D (Strings) 

The PERCUSSION group includes drums, gongs, tambourines and anything else you hit. When you have heard them, the whole orchestra will play the melody again.

กลุ่มของเครื่องประกอบจังหวะ รวมทั้งกลอง ฆ้อง รำมะนาและทุกสิ่งทุกอย่างที่สามารถใช้เคาะหรือตี เมื่อคุณได้ยินมันแสดงผ่านไปแล้ว เครื่องดนตรีออร์เคสตราทั้งหมดก็จะกลับไปเริ่มบทเพลงใหม่อีกครั้ง

Theme E (Percussion) 
Theme F (Full Orchestra) 

Now let us hear each instrument play a variation of its own. The highest of the Woodwind theme is the clear, sweet voice of the FLUTE, with its shrill little brother, the PICCOLO.

ต่อจากนี้ขอเชิญพวกเราได้ฟังเสียงของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นบรรเลงบทเพลงแปรในรูปแบบของตัวเอง ทำนองหลักที่สูงที่สุดของเครื่องเป่าลมไม้คือเสียงใสๆ หวานๆของฟลูท พร้อมกับเสียงแหลมของน้องเล็กที่ชื่อ ปิคโคโล

Variation A 

OBOES have a gentle, plaintive quality, but they can be forceful enough when the composer wants them to.

ปี่โอโบให้น้ำเสียงที่นุ่มนวล คุณภาพเสียงที่เรียบง่ายแต่ก็มีความจริงจังเพียงพอเมื่อผู้ประพันธ์ต้องการ

Variation B 

CLARINETS are very agile. They make a beautifully smooth, mellow sound.

คลาริเนตมีน้ำเสียงที่กระฉับกระเฉง สามารถสร้างเสียงที่งดงาม กลมกล่อม นุ่มนวล

Variation C 

BASSOONS are the largest of the Woodwind team, so they have the deepest voices.

บาสซูนมีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาเครื่องเป่าลมไม้ทั้งหมด ดังนั้นจึงมีเสียงที่ทุ้มลึกมากที่สุด

Variation D 

The highest voices in the String family are the VIOLINS. They play in two groups - Firsts and Seconds.

เสียงที่สูงที่สุดในตระกูลเครื่องสายคือ ไวโอลิน แสดงเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2

Variation E 

VIOLAS are a bit larger than Violins, and so are deeper in tone.

[[วิโอลา]ใหญ่ขึ้นมาจากไวโอลินเล็กน้อย และแน่นอนย่อมต้องมีเสียงที่ต่ำกว่าไวโอลิน

Variation F 

CELLOS sing with splendid richness and warmth. Listen to this fine sound!

เชลโลสามารถเปล่งเสียงออกมาได้อย่างวิเศษมากมายและฟังดูอบอุ่น ลองฟังเสียงที่วิเศษนั่นสิ

Variation G 

The DOUBLEBASSES are the grandfathers of the String family, with heavy grumbling voices.

ดับเบิลเบสเปรียบเทียบได้กับปู่ของตระกูลเครื่องสาย ด้วยน้ำเสียงที่กระหึ่ม

Variation H 

The HARP has forty-seven strings, and seven foot-pedals to alter the pitch of its strings.

ฮาร์ปมี 47 สาย และ 7 กระเดื่อง เพื่อเปลี่ยนแปลงระดับเสียงของสายของมันเอง

Variation I 

The Brass family begins with the HORNS. These are made from brass tubing coiled in a circle.

ตระกูลเครื่องเป่าลมทองเหลืองเริ่มต้นด้วยแตร พวกมันสร้างมาจากท่อทองเหลือง ที่นำมาขดเป็นวงกลม

Variation J

I expect you all know the sound of TRUMPETS.

ข้าพเจ้าเชื่อว่าทุกท่านคงจะรู้จักเสียงของทรัมเปต

Variation K 

The TROMBONES have heavy brassy voices. The BRASS TUBA is heavier still.

ทรอมโบนมีเสียงที่ใหญ่ องอาจ ส่วนทูบายังคงมีน้ำเสียงที่ใหญ่ขึ้นไปอีก

Variation L 

There is an enormous number of PERCUSSION instruments. We can't play them all, but here are the most familiar ones. First the KETTLE DRUMS - often called TIMPANI.

เครื่องกระทบมีจำนวนมากมายมหาศาลเราไม่สามารถเล่นมันได้ทั้งหมด ต่อไปนี้คือสิ่งที่คุ้นเคยกันดี เริ่มจาก "เคทเทลดรัม" หรือที่เรียกกันประจำว่า ทิมปานี

Variation M

The BASS DRUM and CYMBALS

กลองใหญ่และฉาบ

The TAMBOURINE and TRIANGLE

รำมะนาและกิ๋ง

The SIDE DRUM and WOOD BLOCK

กลองเล็กและบล็อกไม้

The XYLOPHONE

ไซโลโฟน

The CASTANETS and GONG

กรับสเปนและ]ฆ้อง

and before they all play together, the WHIP.

และก่อนที่ทั้งหมดจะบรรเลงร่วมกัน นี่คือ วิป

We have taken the whole Orchestra to pieces. Now let us put it together as a Fugue. The instruments come in one after another, in the same order as before - beginning with the Piccolo. At the end, the Brass will play Henry Purcell's fine melody, while the others go on playing Benjamin Britten's Fugue.

เราได้รับรู้ถึงเครื่องดนตรีออร์เครสตราทั้งหมดทีละชิ้นไปเรียบร้อยแล้ว บัดนี้เราจะรวมมันเข้าทั้งหมดด้วยเพลงประกอบลูกเดี่ยวจากเครื่องดนตรีแต่ละชนิด หลังจากนั้นจะรวมกันเป็นหนึ่งเดียวเหมือนกับที่เคยเล่นมาก่อนหน้านี้ เริ่มต้นด้วยปิคโคโล และในตอนจบเครื่องทองเหลืองจะบรรเลงเพลงของเฮนรี เพอร์เชลล์อีกครั้ง ในขณะเดียวกันเครื่องดนตรีอื่นๆก็จะดำเนินเพลงลูกเดี่ยวของแต่ละเครื่องดนตรีด้วยบทเพลงของบริทเทนต่อไป