ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปลุกเสก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: การปลุกเสกคือการกระทำให้สิ่งที่เป็นวัตถุที่กำหนดไว้ให้ม...
 
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการตรวจลิขสิทธิ์ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
การปลุกเสกคือการกระทำให้สิ่งที่เป็นวัตถุที่กำหนดไว้ให้มีคุณค่าขึ้นมา เช่น การปลุกเสกพระเครื่อง การปลุกเสกพระเครื่อง เดิมทีเดียวพระเครื่องเป็นวัตถุผสมด้วย ดิน หรือโลหะ หรือธาตุ หรือกระดูกคนตาย หรือสิ่งอื่น และตัวทำแข็ง ทำเหลงว ตัวยึดติด อาจเป็นเป็นน้ำมันเหลวแห้งได้ดีเมื่อรมด้วยควันไฟ มีอาทิเช่น ตั่งออิ้วที่มีกลิ่นหอม ยางไม้รมบาตรมาจากประเทศจีนมีราคาแพง หรือนำมันชนิดอื่น หรือการทำด้วยปูนพลาสเตอร์(ปูนปารีส) ชนิดแห้งไว หรือหล่อด้วย ธาตแข็งชนิดอื่น เช่น ทองคำ ทองเหลือง ทองแดง ตะกั่ว ทางขาว เหล็ก อื่น ๆ หรือด้วยพืชวัตุ สัตว์วัตถุ ธาตุวัตถุต่าง ๆ แล้วนำมาปลุกเสก ๆ เรียกเป็นภาษาราชการว่า ทำพิธีกรรม การปลุกเสกแบ่งได้เป็น ๒ ประเภทคือ พิธีทางราชการ และพิธีไม่ใช่ราชการ ที่ทราบกันดีคือการพุทธาภิเษก หรือภาษาชาวบ้านเรียกว่าการปลุกเสกพระเครื่องรางของขลัง ของมงคล ตามพิธีกรรมที่สิบทอดกันมา หรือทำให้สิ่งธรรมมีชีวิตทางไสยวิทยาขึ้นมา จนเสร๋จพิธี ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อเสร็จตามขั้นตอน แบบที่ คติชนวิทยา หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน จะยอมรับว่าสิ่งนั้นศักดิ์สิทธ์ได้ด้วยพิธีกรรมเหล่านี้แล้ว จะปรากฎออกมาในท้องตลาด หรือในสังคมทั้วไปทุกระดับ เช่นพระเครื่อง วัตถุมงคล รุ่นต่าง ๆ จากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ดั่งที่ทราบกันว่า บางชนิดเมื่อเสร็จพิธี แล้ว สามารถใช้ป้องกันตัว หรือเก็ลพกพาติดตัวเป็นมงคลอื่น ๆ เช่นยิงรันฟันแทงไม่เข้า แคล้วคลาด กันผี บำรุงขวัญ เป็นเสน่ห์ เป็นมงคล เมตตามหานิยม ค้าขายดี มีหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบที่เป็นพระเครื่อง และไม่ไช่พระเครื่อง ที่นิยมปรากฎต่อมหาชนปัจจุบัน เช่น สมเด็จรุ่นแรก วัดระฆัง
การปลุกเสกคือการกระทำให้สิ่งที่เป็นวัตถุที่กำหนดไว้ให้มีคุณค่าขึ้นมา เช่น การปลุกเสกพระเครื่อง การปลุกเสกพระเครื่อง เดิมทีเดียวพระเครื่องเป็นวัตถุผสมด้วย ดิน หรือโลหะ หรือธาตุ หรือกระดูกคนตาย หรือสิ่งอื่น และตัวทำแข็ง ทำเหลงว ตัวยึดติด อาจเป็นเป็นน้ำมันเหลวแห้งได้ดีเมื่อรมด้วยควันไฟ มีอาทิเช่น ตั่งออิ้วที่มีกลิ่นหอม ยางไม้รมบาตรมาจากประเทศจีนมีราคาแพง หรือนำมันชนิดอื่น หรือการทำด้วยปูนพลาสเตอร์(ปูนปารีส) ชนิดแห้งไว หรือหล่อด้วย ธาตแข็งชนิดอื่น เช่น ทองคำ ทองเหลือง ทองแดง ตะกั่ว ทางขาว เหล็ก อื่น ๆ หรือด้วยพืชวัตุ สัตว์วัตถุ ธาตุวัตถุต่าง ๆ แล้วนำมาปลุกเสก ๆ เรียกเป็นภาษาราชการว่า ทำพิธีกรรม การปลุกเสกแบ่งได้เป็น ๒ ประเภทคือ พิธีทางราชการ และพิธีไม่ใช่ราชการ ที่ทราบกันดีคือการพุทธาภิเษก หรือภาษาชาวบ้านเรียกว่าการปลุกเสกพระเครื่องรางของขลัง ของมงคล ตามพิธีกรรมที่สิบทอดกันมา หรือทำให้สิ่งธรรมมีชีวิตทางไสยวิทยาขึ้นมา จนเสร๋จพิธี ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อเสร็จตามขั้นตอน แบบที่ คติชนวิทยา หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน จะยอมรับว่าสิ่งนั้นศักดิ์สิทธ์ได้ด้วยพิธีกรรมเหล่านี้แล้ว จะปรากฎออกมาในท้องตลาด หรือในสังคมทั้วไปทุกระดับ เช่นพระเครื่อง วัตถุมงคล รุ่นต่าง ๆ จากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ดั่งที่ทราบกันว่า บางชนิดเมื่อเสร็จพิธี แล้ว สามารถใช้ป้องกันตัว หรือเก็ลพกพาติดตัวเป็นมงคลอื่น ๆ เช่นยิงรันฟันแทงไม่เข้า แคล้วคลาด กันผี บำรุงขวัญ เป็นเสน่ห์ เป็นมงคล เมตตามหานิยม ค้าขายดี มีหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบที่เป็นพระเครื่อง และไม่ไช่พระเครื่อง ที่นิยมปรากฎต่อมหาชนปัจจุบัน เช่น สมเด็จรุ่นแรก วัดระฆัง
ที่เชื่อว่าปลุกเสกออกมาโดย สมเด็จพุฒาจารย์โต กรุวัดระฆัง เป็นต้น
ที่เชื่อว่าปลุกเสกออกมาโดย สมเด็จพุฒาจารย์โต กรุวัดระฆัง เป็นต้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:36, 20 กรกฎาคม 2551

    การปลุกเสกคือการกระทำให้สิ่งที่เป็นวัตถุที่กำหนดไว้ให้มีคุณค่าขึ้นมา   เช่น   การปลุกเสกพระเครื่อง   การปลุกเสกพระเครื่อง    เดิมทีเดียวพระเครื่องเป็นวัตถุผสมด้วย  ดิน  หรือโลหะ หรือธาตุ  หรือกระดูกคนตาย  หรือสิ่งอื่น  และตัวทำแข็ง  ทำเหลงว  ตัวยึดติด  อาจเป็นเป็นน้ำมันเหลวแห้งได้ดีเมื่อรมด้วยควันไฟ  มีอาทิเช่น  ตั่งออิ้วที่มีกลิ่นหอม    ยางไม้รมบาตรมาจากประเทศจีนมีราคาแพง  หรือนำมันชนิดอื่น  หรือการทำด้วยปูนพลาสเตอร์(ปูนปารีส)  ชนิดแห้งไว  หรือหล่อด้วย    ธาตแข็งชนิดอื่น   เช่น ทองคำ  ทองเหลือง    ทองแดง   ตะกั่ว  ทางขาว  เหล็ก  อื่น  ๆ  หรือด้วยพืชวัตุ  สัตว์วัตถุ ธาตุวัตถุต่าง ๆ     แล้วนำมาปลุกเสก   ๆ เรียกเป็นภาษาราชการว่า  ทำพิธีกรรม  การปลุกเสกแบ่งได้เป็น  ๒  ประเภทคือ  พิธีทางราชการ  และพิธีไม่ใช่ราชการ     ที่ทราบกันดีคือการพุทธาภิเษก    หรือภาษาชาวบ้านเรียกว่าการปลุกเสกพระเครื่องรางของขลัง  ของมงคล     ตามพิธีกรรมที่สิบทอดกันมา   หรือทำให้สิ่งธรรมมีชีวิตทางไสยวิทยาขึ้นมา    จนเสร๋จพิธี    ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อเสร็จตามขั้นตอน แบบที่ คติชนวิทยา  หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน  จะยอมรับว่าสิ่งนั้นศักดิ์สิทธ์ได้ด้วยพิธีกรรมเหล่านี้แล้ว   จะปรากฎออกมาในท้องตลาด  หรือในสังคมทั้วไปทุกระดับ    เช่นพระเครื่อง  วัตถุมงคล  รุ่นต่าง  ๆ  จากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน   ดั่งที่ทราบกันว่า  บางชนิดเมื่อเสร็จพิธี  แล้ว  สามารถใช้ป้องกันตัว  หรือเก็ลพกพาติดตัวเป็นมงคลอื่น ๆ  เช่นยิงรันฟันแทงไม่เข้า  แคล้วคลาด  กันผี  บำรุงขวัญ  เป็นเสน่ห์  เป็นมงคล  เมตตามหานิยม  ค้าขายดี   มีหลายรูปแบบ    ทั้งรูปแบบที่เป็นพระเครื่อง   และไม่ไช่พระเครื่อง  ที่นิยมปรากฎต่อมหาชนปัจจุบัน เช่น    สมเด็จรุ่นแรก วัดระฆัง

ที่เชื่อว่าปลุกเสกออกมาโดย สมเด็จพุฒาจารย์โต กรุวัดระฆัง เป็นต้น

          การปลุกเสก  มี  ๒   ชนิด  ชนิดใช้นักบวชปลุกเสก  ใช้คนที่ไม่ใช่นักบวชปลุกเสก  การปลุกเสกยังแยกออไปอีกเช่น  การปลุกเสกด้วยน้ำธรรมดาเพื่อเสกให้เป็นน้ำมนตร์  เพื่อรดปัองปัดรังควาญเสนียดจัญไร  เป็นต้นให้ผู้ป่วย  หรือผู้ต้องการ   ในทางพุทธศาสนามีการปลุกเสกเช่นกัน  แต่คติปรัชญาทางศาสนาพุทธถือว่า   จุดสำคัญเพื่อให้รำลึกในคุณพระรัตนตรัยเท่านั้น    ให้นำพระรัตนตรัยไปใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวโดยมีสิ่งที่กำหนดนี้เป็นสื่อ     เมื่อเชื่อเช่นนี้แล้ว  ประกอบด้วยพิธีกรรมที่มีลักษณะคล้ายการปลุกเสกนี้ขึ้น   ที่เชื่อว่าจะบำรุงขวัญคนได้ ทำให้รักษากายใจได้  มันเป็นเรื่องวจิตบำบัดชนิดหนึ่ง  ที่มีระบบจิตวิทยารองรับแล้ว   และในพุทธศาสนาสิ่งสำคัญตรงนี้คือต้องยึดศีล ๕  เป็นประการสำคัญด้วย  และไม่งมงาย  ในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา  มีเหตุการณ์การรดน้ำมนตร์  ที่ผ่านการสวด  การบริกรรม  การภาวนา  การปลุกเสก  ที่สามารถทำให้แก้โรคห่าลงเมืองได้   ด้วยพระปริตรที่พระในพระพุทธศาสาสวดใช้กันตามปกติทุกวัน   อาทิบท  "ยานี"  เป็นต้น   จะพบเสมอที่เรียกว่า  "การสวดพระพุทธมนตร์  และการเจริญพระพุทธมนตร์ " ของพระสงฆ์ ตามลำดับ
          ผลของการปลุกเสก    จะทำให้จิตใจผู้ใช้มีสมาธิ  มีขวัญดี  มีความเชื่อมั่นตนเองขึ้น   มีผลดีทางจิตวิทยามากมาย  การปลุกเสกดังกล่าวนี้กล่าวเฉพาะฝ่ายดีเท่านั้น
        มีการปลุกเสกอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นของชาวบ้าน  ที่เรียกว่า  การเล่นของ  เช่นคนธรรมดา  อยากจะปลุกพระเครื่อง  เขาจะนั่งสมาธิ บริกรรมคาถาในสูตรของเขา  มีมือกำพระเครื่องไว้ในอุ้งมือแน่น  แล้วภาวน่า หลับตาอย่างมีสมาธิแน่วแน่ตามสูตร  จนพระเครื่องหรือสิ่งของที่ปลุกเสกนั้นขึ้น  คนที่ทำกคือคนที่ปลุกเสกจะมีอาการเต้นสั่นบ้างบางครั้ง     ขณะเต้นไม่มีใครเอาอยู่จนกว่า จะมีกำลังเหนือปกติขึ้นมา   จนปล่อยพระเครื่องหรือวัตถุที่ปลุกเสกนั้นออกจากมือของคนปลุกเสก  อาการก็จะหมดไป  นี้เป็นตัวอย่าง  และตามปกติคนที่ทำพิธีจะใสชุดขาว  เว้นอาหารเนื้อสัตว์ก่อนทำ  เป็นตามที่กำหนดไว้  หรือเป็นโยคีหนึ่งระยะ  และยังมีอีกหลายวิธีตามแต่ละสำนึกสิบทอดกันมา  บางอย่างมาจากพราหมณ์  บางอย่างมาจากศาสนาอื่น    บางอย่างมาจากพุทธ(ทางพุทธศาสนาไม่ส่งเสริมเรื่องนี้ทีเดียว)     บางอย่างมาจากผีบรรพบุรุษ  บางอย่างมาจากคติชนวิทยาทั่วไป

มาติณ ถีนิติ ศศ.บ (ศาสนวิทยา)