ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:บทความหมายถึงอะไร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
คนกรุงเก่า (คุย | ส่วนร่วม)
ราชสกุลสุดลาภาเป็นต้นราชสกุลในรัชกาลที่๑โดยประวัติส่วนใหญ่ถูกไฟไหม้ที่พระที่นั่งมัง
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 1259582 สร้างโดย คนกรุงเก่า (พูดคุย)
บรรทัด 51: บรรทัด 51:
[[vi:Wikipedia:Bài bách khoa là gì?]]
[[vi:Wikipedia:Bài bách khoa là gì?]]
[[zh:Wikipedia:什么是条目]]
[[zh:Wikipedia:什么是条目]]



สมเด็จพระนารายณ์มหาราชกับความเป็นต้นสายราชสกุลวงศ์และความผูกพันธุ์ในสายราชสกุลวงศ์สุดลาภา และราชวงศ์จักรีตอนต้นรัชกาลที่๑
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชท่านทรงชอบและโปรดปราณเมืองลพบุรี จึงโปรดให้ทรงสร้างพระราชวังขึ้นที่เมืองลพบุรี(ธรรมดาท่านเป็นคนกรุงศรีอยุธยา) และพระราชวังนี้เป็นพระราชวังชื่อ พระราชวังพระที่นั่งสุทธาสวรรค์ ซึ่งโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อไว้มาพักผ่อนปีละ ๘ -๙ เดือน ซึ่งมีไว้พักผ่อนและมีไว้สำหรับต้อนรับแขกบ้านต่างเมือง และในการที่สายสกุลวงศ์สุดลาภานี้ ซึ่งเป็นสายสกุลวงศ์ดั้งเดิมที่ชั้นคุณทวด ซึ่งเป็นชั้นเจ้าเมืองต่างๆในอดีต เช่นเจ้าเมืองพิษณุโลก เจ้าเมืองชัยภูมิฯลฯต่างๆ ก่อนที่หลังอาณาจักรอยุธยาเกิดการเปลี่ยนแปลงมาเป็นราชวงศ์แห่งจักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์) ในยุคต้นๆแห่งรัชกาลที่ ๑– รัชกาลที่๓ แต่ทว่าสายสกุลวงศ์ สุดลาภา ยังคงยึดถือและคำนึงถึงบรรพบุรุษที่เป็นพระมหากษัตริย์ในยุคดั้งเดืมแห่งอยุธยา “สายสกุลวงศ์ สุดลาภา นี้จึงเป็นเพียงสายสกุลวงศ์ที่มาจากพระมหากษัตริย์ตั้งแต่พระองค์แรกคือสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง หรือสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ถึงพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์กรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชซึ่งเป็นหนึ่งในต้นสายสกุลวงศ์สุดลาภา และท่านได้มีพระราชโอรสซึ่งสืบเนื่องทายาทจากสมเด็จพระเจ้าเสือ ที่เกิดจากภรรยาลับๆ ที่ชื่อว่า “ลูกจันทร์” ซึ่งมีเชื้อสายแห่งเจ้าทางหัวเมืองทางภาคอีสาน(ตามคำบอกเล่าของของคุณทวดที่เล่าสืบต่อกันมา) แล้วนำพระเจ้าเสือมาเลี้ยงดูและได้เป็นพระมหากษัตริย์(สืบเนื่องรัชทายาทแผ่นดินอยุธยา ต่อไปอีกจนถึงสมเด็จพระที่นั่งสุยาศน์อัมรินทร์ พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายซึ่งต่อมาถึงยุคสมัยแห่งราชวงศ์จักรีจนมาถึงยุคสมัยของรัชกาลที่ ๖ซึ่งที่มีการโปรดเกล้า แต่งตั้งให้ประชาชนทั่วไปมีนามสกุลไว้ใช้ซึ่งในที่นี้เราจะเห็นได้ว่า สายสกุลต่างๆที่มีมาตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่๕ หรือจะเป็นทางเชื้อสายสกุลของสมเด็จพระเจ้าตากสินซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง สุพรรณบุรี ซึ่งเป็นหนึ่งในราชวงศ์อาณาจักรแห่งอยุธยาในรุ่นสุดท้าย ก่อนจะมีการแต่งตั้งราชวงศ์จักรี…ก็ยังมีการแต่งตั้งนามสกุล หรือราชสกุลย้อนหลังรัชกาลที่๖ ได้ นั่นโดยการที่ชั้นลูก หลาน เหลน โหลน ช่วยทำการรื้อฟื้นประวัติต่างๆเช่นกัน ในที่นี้เช่นราชสกุล ลำยอง กล้วยไม้ ชมพูนุช เกษมศรี สายสนั่น หัสดิน ลดาวัลย์ ฯลฯ เป็นต้น
ฉนั้นที่มาในอดีต นั่นก็ย่อมเป็นที่รู้กันว่า เป็นราชสกุลที่ยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อเหตุผลว่าทำไมจึงมีนามสกุลไว้ใช้ก่อนรัชกาลที่ ๖ ด้วยหรือ ? (ถ้าไม่ใช่ว่าลูกหลานรำลึกถึงความดีงามแล้วเขียนเล่าขึ้นมา) งั้นสายสกุลวงศ์ สุดลาภา ก็มีมาก่อนราชกาลที่ ๖ ได้เช่นกันฉันท์ใดย่อมเป็นฉันนั้นตามกฎสืบสายราชสกุลวงศ์
เพราะฉะนั้นบุคคลใดที่เป็นเพียงบุคคลธรรมดา สามัญชนก็จะเริ่มใช้นามสกุลครั้งแรกในรัชกาลที่ ๖ ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น(หมายถึงประชาชนทั่วไป) (ที่ไม่ใช่นามสกุลพระราชทานในรัชกาลที่ ๖ (และไม่เกี่ยวข้องกับนามสกุล ณ. อยุธยา ในรัชกาลที่ ๕) และในความเป็นจริงนั้นพระมหากษัตริย์ในอดีตที่มีความดีความชอบและมีพระปรีชาสามารถ ลูกหลานในชั้นปัจจุบันนี้จึงจัดทำการรำลึกถึงในความดีงามและจัดเรียงลำดับชั้นราชสกุล และจัดทำข้อมูลต่างๆว่าสายสกุลตน มาจากราชสกุลใดบ้าง
เช่น ราชสกุลที่มีมาจากรัชกาลที่ ๑
“………………………………………….๒
“………………………………………….๓
“………………………………………….๔
“………………………………………….๕
“………………………………………….๖ ท่านโปรดให้มีสกุลใช้ขึ้นในรัชกาลนี้
“………………………………………….๗
“………………………………………….๘
“………………………………………….๙
แต่ในความเป็นจริง ราชสกุลทุกๆสกุลหรือนามสกุลของประชาชนทั่วไปทุกคนที่มีขึ้นมา (ที่ไม่เกี่ยวของกับ ณ. อยุธยา ) ก็มาจากรัชกาลที่ ๖ ทั้งนั้นแหละครับ…..แต่ทำไมสายสกุลวงศ์ สุดลาภา จึงมีที่มาจากดอีตซึ่งเหมือนราชสกุลของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และก่อนรัชกาลที่ ๖ ละครับ เอ๊ะ หรือว่าเก่าแก่มากเกินเพราะว่ามาจากพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ผู้คนจึงงง!!(เพราะประชาชนงง !) ก็คงจะงงเหมือนราชสกุลที่มีมาก่อนรัชกาลที่๖ เหมือนกันละครับ ! จะได้เลิกสงสัยซะที !
แล้วลองคิดดูหรืออ่านดูว่ามีใครบ้าง ? ที่เก่าแก่ แต่ดันมีสายสกุลที่เล่ามา……นั่นก็ก่อนรัชกาลที่ ๖
ทั้งนั้นไม่ใช่หรือครับ นั่นแหละ ! ..จะได้หายข้องใจ…แล้วก็ไม่ต้องไปปรึกษาใครที่ไหนหรอกนะ…เพราะที่อ่านๆดูเอาเองก็น่าจะเข้าใจเหตุผลกันบ้างแล้วและสายสกุลวงศ์สุดลาภา แห่งอาณาจักรอยุธยา และเมืองลูกหลวง ลพบุรี ยังมีสายสกุลที่แยกออกมาจากสายสกุล สุดลาภา นี้ในอดีต เช่นสายสกุล ณ. ป้อมเพ็ชร แห่งอยุธยา ณ.ตำบลป้อมเพ็ชร จังหวัดอยุธยา นั่นก็เป็นสายสกุลที่มาจากสายสกุลสุดลาภา ที่มีมาจากอดีตอีกสายสกุลหนึ่งในอาณาจักรกรุศรีอยุธยาเช่นกัน ครับ
ความผูกพันธุ์ - พระมหากษัตริย์ – ราชวงศ์อยุธยาในอดีต - การสืบเชื้อสายพระราชวงศ์ในอยุธยา – พระสายสกุลวงศ์ ในสมัยราชวงศ์อยุธยาและในปลายรัชสมัยกรุงศรีอยุธยาเชื่อมต่อ กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น และรัชกาลที่ ๑
ประวัติสายสกุลวงศ์ “ สุดลาภา “ เป็นราชสกุลเก่าแก่ของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (อันที่จริงแล้วสืบเนื่องมาจากสมเด็จพระเจ้าอู่ทองพระมหากษัตริย์อยุธยาลำดำที่ ๑ โดยตรง) (ถึงในปัจจุบัน และจนถึงการนับสืบทอดเรื่อยมาถึงพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้าย ในราชวงศ์แห่งอาณาจักรอยุธยา) และในเมืองลพบุรีซึ่งเป็นเมืองลูกหลวงอยุธยาของสมเด็จพระเจ้าอู่ทองผู้ก่อตั้งและสมเด็จพระราเมศวรซึ่งเป็นโอรสพระองค์แรก คือทรงเป็นเมืองโปรดเป็นเมืองรักเมืองแรกโปรดของพระองค์(จึงถือเป็นที่มาครั้งแรกของคำว่าเมืองลูกหลวง คือเมืองลพบุรีนั่นเอง)และสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงเสด็จสวรรคต และมีพระชนม์มายุได้๕๕พรรษาและท่านยังทรงเป็นสมเด็จพระศาสนูปถัมภกทางด้านการสืบชื้อพระวงศ์ไทยในอดีต เป็นพระราชบิดาของเจ้าฟ้า นรินทรราชกุมาร หรือ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเจ้า พระมหากษัตริย์ลำดับที่๒๘ของกรุงศรีอยุธยา เป็นราชสกุลทางฝ่ายชาย ส่วนทางฝ่ายหญิงสายสกุลวงศ์ “สุปัญโญ” ซึ่งมีบิดายศเป็นขุน และเจ้าพระยา คือขุนภักดีชุมพล (แล) เป็น “พระยาภักดีชุมพล” เจ้าเมืองคนแรกที่ชัยภูมิ และสายสกุลวงศ์ “สุดลาภา” นี้ ยังมีผู้ดำรงใช้นามสกุลนี้อีกหลายๆท่านใน อำเภอมหาราช. อำเภอ นครหลวง อำเภอ อุทัย และอีกหลายๆอำเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดลพบุรี และต้นสกุลยังเป็นเจ้าหัวเมืองต่างๆทางภาคอีสาน,หัวเมืองมะละกา และ หัวเมืองมาลายู และยังมีข้าราชการผู้ใหญ่และผู้ดำรงตำแหน่งข้าราชการในอดีต และปัจจุบันทางการเมืองอีกหลายท่านที่ยังดำรงใช้ราชสกุลนี้ เพราะส่วนใหญ่พระสายสกุลวงศ์ สุดลาภา มีพระโอรสและบุตรชายจำนวนมาก
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช(เมื่อทรงพระเยาว์ทรงยศเป็นเจ้าฟ้านรินทรราชกุมาร) และได้รับตำแหน่งเป็นพระยากลาโหมสุริยวงศ์ หรืออีกพระนามหนึ่งว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓ หรือสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสรรเพชญ์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าปราสาททองกับพระราชเทวี (พระราชธิดาในสมเด็จพระเอกาทศรถ) ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ.2175 ทรงเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อวันพฤหัสบดี แรม 2 ค่ำเดือน 12 ปี วอก พ.ศ. 2199 เมื่อพระชนมายุได้ 25 พรรษา เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ ๒๘ แห่งกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงโปรดเมืองลพบุรีมาก (เมืองลพบุรีถือเป็นเมืองลูกหลวงของสมเด็จพระเจ้าอู่ทองผู้ก่อตั้ง กับสมเด็จพระราเมศวรซึ่งเป็นโอรสพระองค์แรก คือทรงเป็นเมืองโปรดเป็นเมืองรักมืองแรกโปรดของพระองค์กับลูก จึงเป็นที่มาของคำว่า( “เมืองลูกหลวง”) และในต่อมาสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงเสด็จสวรรคตซึ่งมีพระชนม์มายุได้ ๕๕พรรษาและซึ่งเมืองนี้ ในต่อมา สมเด็จพระนารายณ์มหาราชผู้ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ ๓๐ (ซึ่งเป็นพระราชทายาท)ทรงโปรดให้สร้างพระราชวังขึ้นที่เมืองลพบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2209 และเสด็จมาประทับ ที่เมืองลพบุรีปีละ 8-9 เดือน ตลอดรัชกาลอันยาวนานของพระองค์ 32 ปี พระองค์เสด็จสวรรคตที่พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ ภายในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ.2231 ขณะมีพระชนมายุ 56 พรรษา
พระนารายณ์ราชนิเวศน์ เป็นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงโปรด ให้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2209 เดิมเรียกว่า “พระราชวังเมืองลพบุรี” เพื่อใช้เป็นที่ประทับของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช ในคราเสด็จมายังเมืองลพบุรี พระนารายณ์ราชนิเวศน์ มีอาณาเขตพื้นที่ 42 ไร่ ภายในแบ่งออกเป็นเขตพระราชฐานชั้นนอก ชั้นกลาง และชั้นใน มีพระที่นั่งและตึกที่สำคัญ เช่น พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ ซึ่งเป็นสถานที่สวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาท หมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฎ พระที่นั่งจันทรพิศาล ตึกเลี้ยงรับแขกเมือง ตึกพระเจ้าเหา ตึกสิบสองท้องพระคลัง เป็นต้นฯ ซึ่งเมื่อหมดสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ว พระราชวังแห่งนี้ก็ถูกทิ้งร้างไป จนกระทั่งสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงบูรณะพระราชวังแห่งนี้ขึ้นอีกครั้ง และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์” ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ และเป็นสถานที่สำหรับจัดงานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทุกปีตลอดมา และเริ่มจัดขึ้นครั้งแรก(นับแต่อดีต)เมื่อสมัย นาย เชาวน์วัศ สุดลาภา เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี โดยการลำลึกถึงพระคุณของท่าน คือสมเด็จพระมหากษัตริย์ในอยุธยาและผู้เป็นพระปฐมกษัตริย์และผู้ซึ่งถือโปรดพระองค์เป็นเจ้าเมืองในอดีตและเป็นพระปฐมสกุลอยุธยาของพระองค์และราชสกุลวงศ์ที่มีมาในอาณาจักรอยุธยา)คือพระสายสกุลวงศ์ “สุดลาภา “ที่สืบเนื่องได้มาจากพระมหากษัตริย์อยุธยาโดยตรงถึงเชื่อมต่อกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นและใช้สถานที่ภายใน พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ซึ่งเป็นพระราชวังที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นสถานที่จัดงานฯ วัตถุประสงค์ของการจัดงานฯ เพื่อเป็นการรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช ที่ทรงสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่เมืองลพบุรีนับเอนกอนันต์ โดยรูปแบบการจัดงานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จะเป็นการจำลองบรรยากาศย้อนกลับไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีการแสดงมหรสพทางด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น การแสดงแสงเสียง งานราตรีวังนารายณ์ การแสดงวิถีชีวิตไทย การประดับตกแต่งโบราณสถานอย่างสวยงาม และกิจกรรมสำคัญที่ถือเป็นภาพลักษณ์ของงานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คือ ชาวลพบุรีพร้อมใจ แต่งไทยทั้งเมือง ซึ่งถือเป็นสิ่งที่แสดงถึงความจงรักภักดีและการแสดงพร้อมใจกันรำลึกถึงพระองค์คือสมเด็จพระนารายน์มหาราช
หมายเหตุ*** และสายราชสกุลวงศ์ “ สุดลาภา “ยังมีชื้อสายพระมหากษัตริย์อีกหลายพระองค์ที่มีเชื้อสายราชสกุลนี้ และมีชื่อเสียงคือ พระเจ้าอู่ทองลำดับที่๑(หรือพระรามาธิบดีที่๑) สมเด็จพระราเมศวรโอรสพระองค์แรกลำดับที่ที่ ๒, ๕ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ลำดับที่ ๘ สมเด็จพระเอกาทศรถลำดับที่๒๐ และสมเด็จพระนเรศวรมหาราชลำดับที่๒๑ (ชบ),สมเด็จพระเจ้าปราสาททองลำดับที่ ๒๕ (เป็นต้นสายสกุล “สุดลาภา “ที่สืบเนื่องมาจากสมเด็จพระเจ้าอู่ทองพระมหากษัตริย์พระองค์แรกโดยตรง) สมเด็จเจ้าฟ้าชัยลำดับที่๒๖สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาลำดับที่๒๗และทางสมเด็จเจ้าฟ้าชัยทรงมีพระพี่น้องร่วม(เป็นพระเชษฐา)และมี(พระอนุชาคือ )เจ้าฟ้าอภัยทศ พระไตรภูวนาทิตยาวงศ์ พระองค์ทอง พระอินทราชัย และลำดับที่ ๒๘ คือสมเด็จพระนารานณ์มหาราช(พระราชโอรสเมืองลูกหลวง ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ ชั้นลูกซึ่งเป็นต้นสายสกุลวงศ์ “สุดลาภา “ที่ตั้งแห่งเมืองลพบุรีในปัจจุบันนี้) และยังมีสมเด็จพระเพทราชาลำดับที่๒๙ พระเจ้าเสือลำดับที่ ๓๐ (เป็นพระโอรสของสมเด็จพระนารายณ์ที่ประสูตรกับภรรยาลับๆที่ไม่เปิดเผย)สมเด็จพระภูมรินทราชาธิราช หรือ ขุนหลวงท้ายสระ ลำดับที่๓๑ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ ลำดับที่๓๒ และ ก็สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร๓๓ และพระองค์สุดท้ายสมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อัมรินทร์ลำดับที่๓๔ และสืบเนื่องจากสายสกุลวงศ์ ”สุดลาภา”นี้ยังมีสืบทอดทางการปกครองเรื่อยมาจากอดีตทางด้านการเมือง การปกครองและยังมีผู้ดำรงตำแหน่งทางการปกครองต่าง ๆ และในการ(รับราชการ) ทั้งในจังหวัดลพบุรี พิษณุโลก พระนครศรีอยุธยา เชียงใหม่ หัวเมืองใกล้เคียง และทางหัวเมืองต่างๆทางภาคอีสาน , หัวเมืองมะละกา, หัวเมืองมาลายู และแตกแขนงออกเป็นสกุลต่างๆอีกหลายราชสกุลทั้งในกรุงอยุธยาและทั้งในราชวงศ์บ้านพลูหลวงซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นถึงสืบเนื่องถึงในปัจจุบัน
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กับอาณาจักรอยุธยาและประเทศสยามจนเป็นที่น่ายกย่องสรรเสริญสมเด็จพระนารายณ์มหาราช หรืออีกพระนามหนึ่งว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓ หรือสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสรรเพชญ์ เป็นพระราชโอรส ในสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีพระเชษฐาคือ สมเด็จเจ้าฟ้าไชย มีพระอนุชาคือ เจ้าฟ้าอภัยทศ พระไตรภูวนาทิตยวงศ์ พระองค์ทอง และพระอินทราชา พระองค์ได้ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ.๒๑๙๙ เมื่อพระชนมายุได้ ๒๕ พรรษา พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ทรงพระปรีชาสามารถมาก ทำให้กรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยของพระองค์ มีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าในทุกด้าน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การต่างประเทศ การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม วรรณคดีที่สำคัญหลายเรื่องเกิดขึ้นในรัชสมัยของพระองค์ จนได้ชื่อว่าเป็นยุคทองของวรรณคดีในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของพระองค์ ได้มีชาวตะวันตกเดินทางเข้ามาติดต่อค้าขาย เผยแพร่ศาสนาตลอดจนเข้ารับราชการ ทำให้ชาวตะวันตกยอมรับนับถือกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างมาก ในด้านการค้าขาย ได้มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศมากยิ่งกว่าในรัชสมัยอื่น ๆ ทรงปรับปรุงกรมพระคลังสินค้า โปรดเกล้า ฯ ให้ต่อเรือกำปั่นหลวง เพื่อทำการค้ากับต่างประเทศ จึงทำให้กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการค้ากับชาวต่างประเทศ และต่อมาเมื่อเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ผู้เป็นชาวกรีกได้ช่วยปรับปรุงงานของกรมพระคลังสินค้าอีก ทำให้การค้าขายกับต่างประเทศเจริญรุ่งเรืองสูงสุด มีพ่อค้าชาวฝรั่งเศสบันทึกไว้ว่า "ในชมพูทวีปไม่มีเมืองใดที่จะแลกเปลี่ยนสินค้ามากเท่ากับในสยาม สินค้าขายได้ดีมากในสยามและการซื้อขายใช้เงินสด สำหรับเมืองท่าของไทยในเวลานั้น มีอยู่หลายเมืองด้วยกัน ได้แก่ มะริด ตะนาวศรี ภูเก็ต ปัตตานี สงขลา นครศรีธรรมราช เพชรบุรี และบางกอก พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แห่งฝรั่งเศส ได้ส่งบาทหลวงสามคนเดินทางมากรุงศรีอยุธยา เมื่อทั้งสามคนมาถึงแล้วก็ได้มีใบบอกไปยัง พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ และพระสันตปาปา ซึ่งมีความเห็นตรงกันว่าจะใช้กรุงศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่คริสตศาสนา พระบาทหลวงได้ตั้งโรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ สมเด็จพระนารายณ์ทรงเห็นว่า เป็นการนำความเจริญมาให้กรุงศรีอยุธยา พระองค์ได้พระราชทานที่ดินให้สร้างวัดทางคริสตศาสนาด้วย ในปี พ.ศ.๒๒๒๔ สมเด็จพระนารายณ์ ฯ ทรงจัดคณะทูตนำพระราชสาสน์ไปเจริญทางพระราชไมตรี ณ ประเทศฝรั่งเศส แต่คณะราชทูตสูญหายไประหว่างทาง ต่อมาในปี พ.ศ.๒๒๒๖ พระองค์ได้โปรดเกล้า ฯ ให้จัดคณะทูตเดินทางไปฝรั่งเศสอีกครั้ง เพื่อสอบสวนความเป็นไปของทูตคณะแรก พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ทรงทราบก็เข้าใจว่าสมเด็จพระนารายณ์ ฯ ทรงเลื่อมใสจะเข้ารีต จึงได้จัดคณะราชทูตเข้ามาเจริญทางพระราชไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา โดยมีเชอวาเลียร์ เดอ โชมองต์ เป็นหัวหน้าคณะทูต เมื่อปี พ.ศ.๒๒๒๘ ได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระนารายณ์ ฯ ทูลขอให้ทรงเข้ารีต แต่พระองค์ทรงปฏิเสธด้วยพระปรีชาสามารถว่า
"การที่ผู้ใดจะนับถือศาสนาใดนั้น ย่อมแล้วแต่พระผู้เป็นเจ้าบนสวรรค์จะบันดาลให้เป็นไป ถ้าคริสตศาสนาเป็นศาสนาดีจริงแล้ว และเห็นว่าพระองค์สมควรที่จะเข้าเป็นคริสตศาสนิกแล้ว สักวันหนึ่งพระองค์จะถูกดลใจให้เข้ารีตจนได้" พระองค์ได้ให้เสรีภาพแก่ราษฎรทั่วไปที่จะนับถือคริสตศาสนาได้ตามความเลื่อมใสของตน ทำให้เชอวาเลียร์ เดอ โชมองต์ พอใจ
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๒๒๘ เมื่อคณะราชทูตฝรั่งเศสเดินทางกลับ พระองค์ก็ได้จัดให้เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เป็นหัวหน้าคณะราชทูตเดินทางไปฝรั่งเศส นำพระราชสาส์นของพระองค์ไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ และได้ส่งกุลบุตร ๑๒ คน ไปศึกษาวิชาที่ประเทศฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ทรงโปรดปรานเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เป็นอย่างมาก ได้ให้เหรียญที่ระลึก และเขียนรูปภาพเหตุการณ์ไว้ด้วย เมื่อคณะราชทูตเดินทางกลับ พระองค์ได้โปรดให้มองสิเออร์ เดอลาลูแบร์ เป็นราชทูตเข้ามากรุงศรีอยุธยา พร้อมกับเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) และได้นำทหารฝรั่งเศสจำนวน ๖๓๖ นาย เข้ามายังกรุงศรีอยุธยาด้วย สมเด็จพระนารายณ์ ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ทหารฝรั่งเศสจำนวนดังกล่าว ไปรักษาป้อมที่เมืองธนบุรีส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งมีกำลังสองกองร้อยให้ไปรักษาเมืองมะริด ซึ่งมีอังกฤษเป็นภัยคุกคามอยู่
ในปี พ.ศ.๒๒๓๐ สมเด็จพระนารายณ์ทรงประกาศสงครามกับอังกฤษ เนื่องจากมีเหตุบาดหมางกันในเรื่องการค้าขายกับอินเดีย รัฐบาลอังกฤษให้บริษัทอังกฤษ เรียกตัวคนอังกฤษทั้งหมดที่รับราชการอยู่ ณ กรุงศรีอยุธยา ให้กลับประเทศอังกฤษ ต่อมาชาวอังกฤษได้มาก่อความวุ่นวายในเมืองมะริดและรุกรานไทยก่อน แต่ก็ไม่สามารถทำอะไรไทยได้ เนื่องจากขณะนั้นมีทหารฝรั่งเศสรักษาเมืองมะริดอยู่
ในรัชสมัยของพระองค์ แม้ว่าจะมีการค้าขายติดต่อกับต่างประเทศ ที่เจริญรุ่งเรืองแล้วก็ตาม แต่ก็ได้มีการทำสงครามหลายครั้ง ครั้งที่สำคัญได้แก่ การยกกองทัพออกไปตีพม่าที่กรุงอังวะ ตามแบบอย่างที่สมเด็จพระนเรศวร ฯ ได้ทรงกระทำมาแล้วในอดีต และได้มีการยกกองทัพไปตีเมืองเชียงใหม่สองครั้งจนได้ชัยชนะ
สมเด็จพระนารายณ์ ฯ เสด็จสวรรคต ในปี พ.ศ.๒๒๓๑ เมื่อพระชนมายุได้ ๕๐ พรรษา ครองราชย์ได้ ๓๒ ปี


ที่ตั้งจังหวัดอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หรือเรียกสั้นๆ ว่า “อยุธยา” ตั้งอยู่ในภาคกลาง เป็นเมืองหลวงเก่าของไทย สร้างขึ้นเมื่อ พ..ศ. 1893 โดยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ในเวลา 417 ปีที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีกษัตริย์ปกครอง 34 พระองค์จาก 5 ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์อู่ทอง ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทัย ราชวงศ์ปราสาททอง และราชวงศ์บ้านพลูหลวง นับเป็นราชธานีของไทยที่มีอายุยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทยที่อยู่ในดินแดนแหลมทองแห่งนี้ พระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่เป็นที่ลุ่ม มีแม่น้ำสายใหญ่คือ แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำลพบุรีและแม่น้ำเจ้าพระยา ไหลมาบรรจบกันในลักษณะล้อมรอบผืนแผ่นดินส่วนใหญ่ของตัวเมืองไว้ ตัวจังหวัดจึงเป็นเกาะที่มีบ้านเรือนปลูกเรียงราย หนาแน่นตามสองข้างฝั่งแม่น้ำ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 2,556.6 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 16 อำเภอ ได้แก่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา อำเภอนครหลวง อำเภอภาชี อำเภอบ้านแพรก อำเภอบางซ้าย อำเภอบางไทร อำเภอลาดบัวหลวง อำเภอบางบาล อำเภอมหาราช อำเภอบางปะหัน อำเภอเสนา อำเภออุทัย อำเภอบางปะอิน อำเภอผักไห่ อำเภอท่าเรือ และอำเภอวังน้อย

อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ จดจังหวัดลพบุรี อ่างทอง และ สระบุรี
ทิศใต้ จดจังหวัดปทุมธานี และ นนทบุรี
ทิศตะวันออก จดจังหวัดสระบุรี
ทิศตะวันตก จดจังหวัดสุพรรณบุรี

อาณาเขตจังหวัดชัยภูมิ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดขอนแก่น
ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดนครราชสีมา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดเพชรบูรณ์ และลพบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดขอนแก่น และนครราชสีมา
ชัยภูมิ อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ๓๔๒ กิโลเมตร มีพื้นที่ ๑๒,๗๗๘.๓ ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครอง ออกเป็น ๑๓ อำเภอ ๒ กิ่งอำเภอ คือ อำเภอเมืองชัยภูมิ อำเภอบ้านเขว้า อำเภอคอนสวรรค์ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ อำเภอหนองบัวแดง อำเภอจัตุรัส อำเภอบำเหน็จณรงค์ อำเภอภูเขียว อำเภอบ้านแท่น อำเภอแก้งคร้อ อำเภอคอนสาร อำเภอเทพสถิต อำเภอหนองบัวระเหว กิ่งอำเภอภักดีชุมพล และกิ่งอำเภอ เนินสง่า

ความสำคัญของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชกับสายสกุลวงศ์ “สุดลาภา”
ครับ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ท่านเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาลำดับที่ ๒๘ และท่านทรงมีแสนยานุภาพในทุกๆด้าน ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ท่านแรกแห่งประเทศไทย (ในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาที่ทรงมีพระปรีชาสามารถ) และเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงทำการติดต่อกับประเทศฝรั่งเศสเป็นชาติแรก(ของโลก) ในด้านการสัมพันธ์ทางการทูต ความดีความชอบของท่านนั้นเปี่ยมล้นด้วยสิ่งดีงามที่หาที่ติมิได้ และครอบครัวของท่านพระมหากษัตริย์พระองค์นี้ยังสร้างความดีนาๆนับประการ เริ่มตั้งแต่การที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาและเป็นเจ้าเมืองแห่งพิษณุโลก ลพบุรี และนอกจากนี้ท่านยังส่งทายาทในเชื้อสายสกุลของท่าน โดยการให้ดูแลและดำรงตำแหน่งหัวเมืองใหญ่ๆ เช่น ชัยภูมิ นครราชสีมา ร้อยเอ็ด สุรินทร์ กาฬสินธุ์ นครพนม จำปาศักดิ์ ชลบุรี จันทบุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี เพชรบุรี มลฑลราชบุรี (ก่อนราชกาลที่๑) นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต ปัตตานี นราธิวาส มะละกา มาลายู ฯลฯ ความยิ่งใหญ่ของท่าน และความที่ท่านเปี่ยมล้นผู้ทรงเป็นศาสนูปถัมภกทางด้านการสืบชื้อพระวงศ์ไทยในอดีตเรื่อยมา แต่อันที่จริงเมืองที่ท่านสร้างไว้ และส่งทายาทไปเป็นเจ้าเมืองทั้งหลายเหล่านี้ นับว่าเป็นการสร้างคุณประโยชน์อย่างมหาศาลและหาที่เปรียบมิได้ แต่ในที่นี้ต้นสายสกุลวงศ์ “สุดลาภา “ ซึ่งเป็นสายสกุลวงศ์ที่สืบทอดมาจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (อันที่จริง ต้นสกุลท่านแรกก็คือสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง หรือสมเด็จพระรามาธิบดีองศ์ที่๑ หรือรัชกาลที่๑แห่งอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา) เป็นการสืบทอดมาถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสิ้นสุดองค์สุดท้ายที่พระเจ้าอุทุมพรกษัตริย์ลำดับที่๓๕ แต่อันที่จริง เมื่ออาณาจักรอยุธยาเกิดการเปลี่ยนแปลง แต่ทว่า หัวเมืองใหญ่ๆที่ลูกหลานของท่านปกครองอยู่นั้น ยังคงมีการสืบเชื้อสายต่อมา และย้ายถิ่นฐานอาณาจักร และยังคงเหลือทายาทองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง สุพรรณบุรี ซึ่งเป็นอาณาจักรของกรุงศรีอยุธยาอยู่ในขณะนั้น นั่นก็คือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งเป็นรัชทายาททางด้านพระมารดา ของพระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายคือพระเจ้าอุทุมพร และสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ท่านยังทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวงอาณาจักรแห่งราชวงศ์อยุธยาในขณะนั้น ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (หรือรัชกาลที่๑) ซึ่งเป็นทายาทรุ่นสุดท้ายของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช(ซึ่งทรงเป็นทวด) และเป็นรัชทายาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราชฝ่ายพระบิดาโดยตรง (อันที่จริงบางตำราว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กับ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หรือรัชการที่๑ ทรงเป็นเพื่อนกัน) แต่ทว่าตามสายสกุลวงศ์สุดลาภา ที่สืบทอดต่อกันมาจากบรรพบุรุษเล่าให้ฟังว่า (ท่านเป็นลูกพี่ลูกน้องกันทางฝ่ายบิดา และมารดา คือรัชกาลที่๑เป็นทายาทจากฝ่ายพระราชบิดาที่สืบเนื่องจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระเจ้าตากสินเป็นทายาทจากฝ่ายมารดา และต่อมาได้มีการสืบทอดรัชกาลโดยเปลี่ยนราชวงศ์ใหม่ชื่อว่าราชวงศ์จักรี โดยการสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นมาใหม่ “สายสกุลวงศ์ สุดลาภา “ เป็นสายสกุลที่สืบทอดมาจากพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาทั้งหมด จนถึงรัชกาลที่ ๑ ซึ่งเป็นทายาทองศ์สุดท้ายที่ทรงปราบดาตนเองขึ้น หลังจากราชวงศ์อยุธยาหมดยุค และท่านรัชกาลที่๑ ที่มีชื่อว่านายทองด้วง หรือสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก หรือสมเด็จพระยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงเป็นรัชทายาทที่มาจากอาณาจักรอยุธยาโดยตรงเช่นกัน ซึ่งถือว่าเป็นต้นราชวงศ์จักรีลำดับที่ ๑ แต่ว่าด้วยเหตุผลที่ว่าสายสกุล สุดลาภา ยังรัก และคำนึงถึงบรรพบุรุษดั้งเดิมที่เป็นพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในอดีตเรื่อยมา จึงใช้สายสกุลวงศ์เดิม คือ “สุดลาภา “ ซึ่งแปลว่า “ผู้ประเสริฐด้วยบุญญาธิการที่เป็นหนึ่ง”ตามประวัติและที่มาของสายสกุลนี้
ส่วนชั้นลูกหลานของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมหาราชที่ทรงโปรดประทับเป็นเจ้าเมืองตามหัวเมืองต่างๆ ตามที่กล่าวขั้นต้น จึงเป็นลูกหลานของพระมหากษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งมีมาแต่ในอดีต จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นในช่วงรัชกาลที่ ๑ นั่นก็ล้วนแล้วแต่เป็นรัชทายาทสืบต่อกันมา และได้เปลี่ยนชื่อราชวงศ์บ้านพลูหลวง สุพรรณบุรีของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา มาเป็นราชวงศ์จักรีตราบจนถึงรัชกาลปัจจุบันนี้
หมายเหตุ ชั้นลูกหลานของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ที่เป็นเจ้าหัวเมืองต่างๆ จึงได้ทำการยื่นเรื่องขอให้มีการโปรดเกล้าพระราชทานนามสกุล ให้เป็นราชนิกุล ในทุกๆชั้นหัวเมือง ๒๑
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัตินามสกุล พ.ศ.๒๔๕๖
มีพระบรมราโชบายในการขนานนามสกุลหลายข้อ ข้อที่เกี่ยวกับเกณฑ์ภูมิลำเนานั้น มีว่า “๔. (ก.) เกณฑ์ภูมิลำเนา คือ (ตั้ง) ตามนามตำบลที่อยู่ เช่น ‘สามเสน’ ‘บางขุนพรหม’ ‘บางกระบือ’ แต่ห้ามมิให้มี ‘ณ” อยู่ข้างหน้านามตำบล เพราะ ณ จะมีได้แต่ที่พระราชทานเท่านั้น” แต่เมื่อเป็นเพียงประกาศพระบรมราโชบาย มิใช่พระบรมราชโองการ และมิได้ตราเป็นพระราชบัญญัติจึงปรากฎว่า ยังมีผู้ใช้ ‘ณ’ นำนามสกุลอยู่
ใน พ.ศ.๒๔๕๘ จึงโปรดเกล้าฯให้ประกาศพระบรมราชโองการว่า “ได้มีประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๘ สั่งว่า ห้ามมิให้ใช้ ‘ณ’ นำหน้านามสกุล ผู้ใดใช้ไปก่อนประกาศนี้ให้ถอน ‘ณ’ ออกเสีย ถ้าผู้ใดมีความประสงค์จะใช้ให้นำเรื่องราวขอพระบรมรชานุญาตเสียก่อน” ทั้งนี้เพราะคำว่า ‘ณ’ สำหรับโปรดเกล้าฯ พระราชทาน เฉพาะสกุลที่สืบเชื้อสายลงมาจาก เจ้าผู้ครองนคร หรือผู้ว่าราชการเมือง (ก่อนเรียกกันว่าจังหวัด) เท่านั้น แม้ในปัจจุบันจะใช้พระราชบัญญัตินามสกุล พ.ศ.๒๕๐๕ ซึ่งตราขึ้นในสมัย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยกเลิก พระราชบัญญัตินามสกุล พ.ศ.๒๔๕๖ ทว่าพระบรมราชโองการประกาศ เกี่ยวกับคำว่า ‘ณ’ คงจะยังถือปฏิบัติกันอยู่ จึงมิได้มีผู้ใดขอตั้งนามสกุลอันขึ้นต้นด้วยคำ ‘ณ’ ไหนๆก็ถามมาแล้ว จึงได้คุ้นนามสกุลพระราชทานที่ขึ้นต้นว่า ‘ณ’ ทั้งเหตุผลที่โปรดฯ พระราชทานแก่ผู้ขอด้วย
นามสกุลพระราชทานในรัชกาลที่ ๖ ขึ้นต้นว่า ‘ณ’ หน้าชื่อเมืองมี ๒๑ นามสกุล
๑. ณ กาฬสินธุ์ พระราชทาน พระยาไชยสุนทร (เก) ทวดและปู่เป็นเจ้าเมืองกาฬสินธุ์ เชื้อสายเจ้าเมืองกาฬสินธุ์มาแต่ก่อน
๒. ณ จัมปาศักดิ์ พระราชทานเจ้าศักดิ์ประสิทธิ์ (เจ้าเบงคำ) เจ้าศักดิ์ประเสริฐ์ (เจ้าอุย) บุตรชายเจ้านครจัมปาศักดิ์ ซึ่งเข้ามารับราชการในเมืองไทย ไม่ยอมอยู่ในบังคับฝรั่งเศส
๓. ณ เชียงใหม่ พระราชทานเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่
๔. ณ ตะกั่วทุ่ง พระราชทาน พระราชภักดี (หร่าย) ยกระบัตรมณฑลปัตตานี ทวดและปู่เป็นผู้ว่าราชการเมืองตะกั่วทุ่ง
๕. ณ ถลาง พระราชทานพระยา ๓ ท่าน ซึ่งร่วมทวดเดียวกัน ทวดเป็นพระยาถลาง
๖. ณ นคร พระราชทาน เชื้อสาย เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) ที่ว่าเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
๗. ณ น่าน พระราชทาน ผู้สืบสกุลจากพระเจ้าสุริยพงษผริตเดช พระเจ้าน่าน
๘. ณ บางช้าง พระราชทานสำหรับพระญาติวงศ์ของสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๑ ซึ่งเป็นราชินิกุลในรัชกาลที่ ๒
๙. ณ ป้อมเพ็ชร์ สกุลนี้เดิมตั้งบ้านเรือนอยู่ ณ ป้อมเพชรกรุงเก่า มีชื่อเสียงอยู่ในกรุงเก่า
๑๐. ณ พัทลุง พระราชทานผู้สืบสายจากเจ้าเมืองพัทลุง สายสุลต่านสุลัยมาน ผู้เป็นเจ้าเมืองพัทลุงมาหลายชั้น ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา
๑๑. ณ พิศณุโลก พระราชทานหม่อมคัทริน ใน สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าฯกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ก่อนพระราชทานนามสกุล ‘จักรพงศ์’ในรัชกาลที่ ๗
มีผู้ใช้นามสกุลนี้เพียงท่านเดียว คือ หม่อมคัทริน
๑๒. ณ มโนรม ทวดและปู่ของผู้ขอพระราชทาน เป็นผู้ว่าราชการเมืองมโนรม
๑๓. ณ มหาไชย พระราชทานพระยาเทพทวาราวดี (สาย) อธิบดีกรมมหาดเล็ก ข้าหลวงเดิม
และเคยเป็นเจ้ากรมเมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ทรงพระอิสริยยศ เป็นกรมขุนเทพทวาราวดี พระยาเทพฯ มีภูมิลำเนาอยู่ตำบลมหาไชย
๑๔. ณ ระนอง พระราชทานแก่ผู้สืบเชื้อสายพระยาระนองคนแรก คือพระยาดำรงมหิศร์ภักดี (คอซู้เจียง)
๑๕. ณ ร้อยเอ็จ พระราชทานแก่พระยาขัติยะวงศา (หลา) ผู้ว่าราชการเมืองเมืองร้อยเอ็จ ซึ่งเป็นเชื้อสายเจ้าเมืองร้อยเอ็จมาแต่ครั้งทวด ปู่ และบิดา
๑๖. ณ ลำปาง พระราชทานผู้สืบเชื้อสายเจ้านครลำปาง (เจ้าเจ็ดตน)
๑๗. ณ ลำพูน พระราชทานผู้สืบเชื้อสายเจ้านครลำพูน (เจ้าเจ็ดตน)
๑๘. ณ วิเชียร ปู่และบิดาเคยเป็นผู้ว่าราชการเมืองวิเชียรบุรีในจังหวัดเพชรบูรณ์
๑๙. ณ สงขลา พระราชทานผู้สืบสกุล เจ้าพระยาสงขลา
๒๐. ณ หนองคาย พระราชทานผู้สืบสายเจ้าเมืองนครหนองคายมาแต่ปู่และบิดา
๒๑. ณ อุบล พระราชทานพระอุบลประชารักษ์ (เสือ) ทวดเป็นพระประทุมวงศา (คำผา) เจ้าเมืองอุบลคนแรก
นอกจากนามสกุล ‘ณ’ โดยตรงแล้ว ยังมีอีก ๗ สกุล ที่โปรดฯให้ใช้ ‘ณ’ ต่อท้ายนามสกุลที่แยกออกจาก ‘ณ’ เดิม คือ
๑. โกมารกุล ณ นคร
๒. ประทีป ณ ถลาง
๓. สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง


และอีก ๕ นามสกุลที่โปรดฯให้ใช้ ‘ณ’ ตามหลังนามสกุล คือ
๑. พรหมสาขา ณ กลนคร พระราชทานให้พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ) เชื้อสายเจ้านครสกลนครมาแต่ครั้งทวด (พระบรมราชา)
๒. ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม เชื้อสายเจ้าเมืองมหาสารคามมาแต่ทวด เจ้าราชวงศ์ (หล้า)
๓. รัตนดิลก ณ ภูเก็ต เชื้อสายพระภูเก็ตโลหเกษตรรักษ์
๔. สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง แยกจาก ณ พัทลุง โปรดเกล้าฯ พระราชทานว่า สุคนธาภิรมย์ เพราะผู้ขอพระราชทานมีปู่ชื่อกลิ่น บิดาชื่อชม
๕. สุนทรกุล ณ ชลบุรี นามสกุลนี้พิเศษกว่า ‘ณ’ อื่นๆ ด้วยเป็นนามสกุลสืบทอดมาจาก ‘เจ้า’ ผู้ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นจากสามัญชน ที่มิได้มีเชื่อสายเกี่ยวข้อง หรือเกี่ยวดองกับพระบรมราชจักรีวงศ์ เจ้านามพระองค์นี้ คือ กรมขุนสุนทรภูเบศร์ พระนามเดิมว่า ‘เรือง’ หรือ ‘จีนเรือง’ เป็นชาวเมืองชลบุรี เป็นผู้มีอุปการคุณแก่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อเสด็จยกทัพไปตีจันทบุรี จีนเรืองรักใคร่ชอบพอกับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทมาก ถึงแก่ได้ร่วมสาบานเป็นพี่น้องกัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ เสด็จปราบดาภิเษก จึงทรงสถาปนาขึ้นเป็น เจ้า ตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระอนุชาธิราช พระราชทานให้สร้างวังอยู่ปากคลองวัดชนะสงคราม (หรือปากคลองโรงไหม) ตรงข้ามวังหน้า ถึงรัชกาลที่ ๓ พระราชทานให้เป็นวังเจ้าฟ้าอิศราพงศ์ กรมขุนสุนทรภูเบศร์ นี้ได้เป็นเจ้าแต่เฉพาะองค์เดียว ลูกมิได้เป็นเจ้าด้วย ทว่าผู้ขอพระราชทานนามสกุล จดไว้ว่า ‘หม่อมหลวงจาบ’ เห็นทีพวกลูกหลานคงเรียกกันว่า ‘หม่อม’ ตามที่เรียกยกย่องพวกผู้ดีมีสกุลมาแต่ครั้งอยุธยา เมื่อถึงรัชกาลที่ ๔-๕ จึงโปรดฯให้เป็นหม่อมราชวงศ์ หม่อมหลวง ด้วยถือว่าเป็นแต่ราชนิกุล ไม่ใช่เจ้า

ยังมี นามสกุล ‘ณ’ อีกสกุลหนึ่ง คือ ‘ณ ราชสีมา’ และ ‘อินทรกำแหง ณ ราชสีมา’ ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก เจ้าพระยากำแหงสงคราม (ทองอิน) ผู้ว่าราชการเมืองนครราชสีมา ท่านผู้นี้มีประวัติแบบเดียวกันกับเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) คือว่ากันว่าเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยโปรดพระราชทานเจ้าจอมยวน ซึ่งกำลังตั้งครรภ์อยู่ในแก่เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น)
อันที่จริงแล้ว สายสกุลวงศ์ สุดลาภา จะเรียกว่าราชสกุลนั้น ก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องที่ผิด เพราะรัชกาลที่๑ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระองค์ท่าน ทรงเป็นทายาททางลูกหลานของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง แห่งราชวงศ์ปราสาททอง เป็นทายาทเชื้อพระวงศ์เดียวกันกับสมเด็จนารายณ์มหาราช (ซึ่งรัชกาลที่๑ ทรงเป็นลูกของนายทหาร) ที่เป็นหลานของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่เกิดจากพระโอรสของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช(ท่านทรงมีพระโอรสหลายพระองค์ และมีพระโอรสที่เป็นชั้นนายทหาร เหมือนสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองท่านผู้ทรงเป็นนายทหารมาก่อน) หรือชั้นเหลนของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และก็ไม่ได้มาจากราชวงศ์บ้านพลูหลวง แต่ว่าเป็นราชวงศ์ปราสาททอง แต่ในครั้นอยุธยาสิ้นยุคที่ยากต่อการฟื้นฟูอย่างรวดเร็วเหล่าบรรดาทายาทที่กรุงเก่าและตามหัวเมืองต่างๆในอาณาจักรสยาม จึงสั่งท่านที่เป็นรัชทายาททางกรุงเก่า มาสร้างกรุงเทพใหม่ ชื่อกรุงรัตนโกสินทร์และเปลี่ยนชื่อราชวงศ์เป็นราชวงศ์จักรี และให้ท่านทรงปราบดาตนเองขึ้นเป็น(รัชกาลที่๑ แห่งราชวงศ์จักรี)
และจะย้อนถามถึงสายสกุลวงศ์ สุดลาภา ฉะนั้น จะเรียกตนเองว่าเป็นราชสกุลก็มิผิด เพราะสายสกุลวงศ์ สุดลาภา เป็นที่มาแห่งสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งราชวงศ์ปราสาททอง แห่งอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา หรือเมืองเก่า เพราะว่าท่านสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทรงเป็นชั้นทวดของรัชกาลที่๑ จึงนับได้ว่าเป็นที่มาแห่งสายโลหิต ราชสกุลเดียวกัน แต่ทว่า สายสกุลวงศ์ สุดลาภา นั้นยังใช้สายสกุลวงศ์เดิมมิได้มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ และยังคงธำรงรักษาสายสกุลวงศ์เก่าแก่ ที่สืบเนื่องมาจากพระเจ้าแผ่นดินในกรุงศรีอยุธยาในหลายๆพระองค์ รวมทั้งรัชกาลที่๑เองด้วยซ้ำไป แต่ถ้าว่ากันในเรื่องที่ถูกต้องแล้ว รัชกาลที่๑ซึ่งเป็นทายาทที่มีพระราชบิดาเป็นนายทหาร แห่งอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาในราชวงศ์ปราสาททองนั้น เป็นเรื่องของการสืบรัชทายาทมาจากเชื้อพระวงศ์แห่งกรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นสายเดียวกัน แต่ในทุกวันนี้เราจะเห็นได้ว่า สายสกุลเก่าแก่อย่างสายสกุลวงศ์ สุดลาภา ก็ยังคงใช้สายสกุลวงศ์เดิม (ขนานแท้ และดั้งเดิม) แต่ถ้าจะให้สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ใช้ชื่อเล่นที่พระราชบิดาทรงเรียกว่า (ทองด้วง ) ถ้าเป็นในสมัยอยุธยาถ้ามีนามสกุลต่อท้ายด้วยแล้ว จะต้องใช้ว่า “ทองด้วง สุดลาภา” (ซึ่งมิใช่ทองด้วงที่ไม่ปรากฏสายสกุลในประวัติ)(แต่เป็นต้นสกุลขนานแท้ของสายราชสกุล”สุดลาภา” ) ซึ่งรัชกาลที่๑ ซึ่งมีสายสกุลเดิมที่มีพระราชบิดาเป็นนายทหาร ซึ่งเป็นลูกหลานของนายทหาร แห่งสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แล้วไฉนเลย ราชสกุล สุดลาภา จึงจะเรียกตนเองว่าราชสกุล สุดลาภา หรือ สายสกุลวงศ์ สุดลาภา มิได้
นั่นเพราะการถือบรรพระบุรุษที่เป็นต้นสายสกุลวงศ์นี้มีมาแต่ในอดีต ตามคำบอกเล่าของบรรพบุรุษแห่งราชสกุลนี้ (ทั้งนี้ทั้งนั้น)ก็มิได้เกี่ยวข้องกับสกุลที่มาของเจ้าจอมมารดาต่างๆที่มีกล่าวไว้ในประวัติถึงที่มาทั่วไป หรือในประวัติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับราชสกุลทางเจ้าจอมมารดาต่างๆทั่วไปที่มีกล่าวไว้กว่าหลายสิบสายสกุล แต่ในที่นี้ไม่ใช่ราชสกุลสุดลาภาที่เป็นของพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สมบัติสืบทอดต่อกันมา เช่น สายสกุลของรัชกาลที่๑ คือสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทางพระราชบิดาของท่านตามที่กล่าวมานั้น เป็นราชสกุลของสายสกุลวงศ์ สุดลาภา ทั้งหมด (และไม่เกี่ยวข้องกับทางสายเจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่๑) (กล่าวคือ ราชสกุลวงศ์ สุดลาภา เป็นราชสกุลที่มีมาแต่อดีตโบราณที่เป็นของพระมหากษัตริย์แต่ละพระองค์เป็นต้นสายสกุลแต่มิได้มีการเปิดเผยในตำนานมากเท่าใดนัก มีเพียงแต่ประวัติกับการบอกเล่าสืบต่อกันมากันว่า สายสกุลวงศ์ของรัชกาลแผ่นดินโดยตรงในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา และรัชกาลที่๑ ซึ่งมาจากการเป็นบุตรของนายทหารที่มีเชื้อสายเป็นหลานของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง แห่งราชวงศ์ปราสาททองอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาจนมีการปราบดาพระองค์เป็นรัชกาลที่๑แห่งราชวงศ์จักกรี และสายสกุลทางเจ้าจอมมารดาทั่วไปนั่นถือเป็นราชสกุลที่ไม่เกี่ยวข้อง นั่นก็เพราะว่าเป็นสายราชสกุลที่มิได้ใช้สายราชสกุลในพระบรมราชบพิธว่าราชสกุล “สุดลาภา”นั่นเอง
เพราะฉะนั้น ราชสกุลวงศ์ สุดลาภา หรือราชสายสกุลวงศ์สุดลาภา จะย่อมใช้ได้ เพราะว่าราชสกุลวงศ์มาจากสกุลเดิมของพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีในรัชกาลที่๑โดยตรง และคำว่าสายสกุลวงศ์ ก็ย่อมใช้ได้เช่นกัน เพราะเป็นเชื้อสายที่สืบทอดจากสายสกุลแห่งพระมหากษัตริย์ในยุดอดีตถึงต้นแห่งราชวงศ์จักรีนั่นเอง
และยังมีหนังสือประวัติอยู่อีกหลายเล่มที่ นายเชาวน์วัศน์ สุดลาภา เป็นผู้เรียบเรียงและแต่งขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นประวัติต่างๆที่ญาติแห่งกรุงศรีอยุธยาได้ทำการบันทึกไว้ และเรียบเรียงบ้าง แต่หนังสือประวัติเหล่านี้ยังมีตำนานเล่าขานอีกมากในเรื่องที่มาของ “ราชสกุลสุดลาภา” และประวัติที่ที่มาแห่งราชวงศ์จักรีในรัชกาลที่๑ ที่พระองค์ท่านเป็นเชื้อสายราชสกุล “สุดลาภา” โดยทางตรง (มิได้มาจากสกุลทางสายเจ้าจอมต่างๆที่มีเขียนไว้ในหนังสือราชสกุล) แต่ถ้าว่าราชสกุล สุดลาภา เป็นเพียงต้นราชสกุลและที่มาของพระมหากษัตริย์โดยทางตรงในกรุงศรีอยุธยา และ รัชกาลที่๑ แห่งราชวงศ์จักรี ราชสกุล สุดลาภา จึงเป็นราชสกุลที่มาและต้นกำเนิดโดยพระมหากษัตริย์ทางฝ่ายชายที่สืบเนื่องต่อกันมา และไม่เกี่ยวข้องกับทางฝ่ายสายสกุลทางฝ่ายวังหน้า และวังหลัง ของเหล่าบรรดาศักดิ์ข้าหลวง รวมไปถึงในเหล่าที่มาของสายสกุลเจ้าจอมที่มาจากทางฝ่ายเหล่าข้าหลวง หรือทางฝ่ายขุนนางทหารในการปกครอง เพราะราชสกุล “สุดลาภา” ถือว่าเป็นราชสกุลที่เก่าแก่ดั้งเดิมจากพระมหากษัตริย์ต่างๆของกรุงศรีอยุธยาเกือบทุกๆพระองค์ และรวมไปถึงรัชกาลที่๑ แห่งราชวงศ์จักรีที่ชื่อทองด้วง(แต่ไม่ปรากฏสายสกุล)หรือสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชอีกด้วย (เพราะถ้าจะนับตามสายสกุลแล้ว ท่านรัชกาลที่๑ ก็คือต้นที่มาแห่งสายราชสกุล “สุดลาภา” นั่นเอง) และทั้งนี้ทั้งนั้น ยังมีเรื่องราวอีกมากมายที่มาจากสายราชสกุล “สุดลาภา” เพราะว่ามีรัชทายาทมากมายที่เป็นเจ้าหัวเมืองต่างๆ ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงสร้างทายาทไว้มากมาย และส่งเสริมให้เป็นเจ้าครองนครต่างๆตามหัวเมืองแห่งอาณาจักรในแผ่นดินสยามแทบจะทุกหัวเมืองก็ว่าได้ และส่วนใหญ่จะเป็นญาติพี่น้องกันทั้งนั้น (แต่ว่าบรรดาญาติเหล่านี้ เป็นเพียงเจ้าครองหัวเมืองการปกครองต่างๆ แต่มิได้เป็นพระมหากษัตริย์ดั่งในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ) และในทุกวันนี้ เหล่าบรรดาทายาทต่างๆก็ได้ทำการขอพระราชทานสายสกุลมาบ้างก็มาก และใช้สายสกุลอื่นที่แตกแขนงออกไปก็มาก แต่อันที่จริงแล้ว ราชสกุล”สุดลาภา “ยังถือเป็นสายแห่งราชสกุลพระมหากษัตริย์โดยตรง โดยที่มิได้มีการเปลี่ยนแปลงสายสกุลใดๆทั้งสิ้น และยังมีการกล่าวว่ายังมีหนังสือเกี่ยวกับสายราชสกุล “สุดลาภา” ที่มีประวัติไว้ที่เมืองฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ รัสเซีย ถ้าเป็นในแถบหนังสือทางเอเชียจะมีประวัติของราชสกุล สุดลาภา นี้ เมื่อครั้น รัชกาลที่๑ ทรงไปนครวียงจันทร์(เป็นนครที่มีทายาททางสายากุลนี้ปกครองอยูและท่านได้อัญเชิญพระแก้วมรกต มาประดิฐสถานไว้ในประเทศไทยอีกด้วย)และมีประวัติใน ลาว พม่า ในกัมพูชา ลังกา และยังมีในประวัติทางหัวเมืองมะละกา และมาลายู ที่เกี่ยวข้องกับราชสกุล สุดลาภา นี้ เพราะทางสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ส่งลูกหลานและเหล่าบรรดาศักดิ์ทายาทต่างๆหลายพระองค์ไปเป็นเจ้าหัวเมืองเหล่านี้ จนปัจจุบันนี้มีทายาททางสายสกุลนี้มากที่ยังเป็นเจ้าทางแถบนี้อยู่ (แต่ได้ใช้คนละสายราชสกุลกัน) และในที่นี้จึงเป็นที่มาต่างๆ และเป็นประวัติต่างๆของ ราชสกุล” สุดลาภา” ใน ณ. ที่นี้

Home Keyword Heading Keyword Reserve Broadcast Advance Cart Patron Access Help
สืบค้น
คำค้น:
Title Author Subject Publisher Call Number Journal Title
ฐานข้อมูล:
Books & Serials Journal Indexing
There are 0 titles in your cart.
Search History
Recommended Reading
First record | Previous record | Next record | Last record
Card | items(1) | Marc

Record 1 of 1
Tag In 1 In 2 Data
001 vtls000022169
003 VRT
005 20040315091800.0
008 951219s1986 th f000 0 tha d
035 \a 0023-36760
039 9 \y 200403150918 \z VLOAD
050 4 \a HM131 \b ช7
100 0 \a เชาวน์วัศ สุดลาภา.
245 1 0 \a ศาลหมู่บ้าน : \b สถาบันทางสังคมเพื่อระงับความขัดแย้ง ในหมู่บ้าน / \c โดย เชาวน์วัศ สุดลาภา.
246 1 4 \a เอกสารวิจัยส่วนบุคคลในลักษณะวิชาสังคมจิตวิทยาเรื่อง ศาลหมู่บ้าน สถาบันทางสังคมเพื่อระงับความขัดแย้งในหมู่บ้าน
260 \a กรุงเทพฯ : \b วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, \c [2529?]
300 \a 277 หน้า.
500 \a ฉบับอัดสำเนา.
650 4 \a ศาลหมู่บ้าน.
650 4 \a ความขัดแย้งทางสังคม.
945 \a 0100
949 \A VIRTUAITEM \6 1000052223 \D 000010000 \X 1 \F 0001 \V 100
Keyword Search
Words: Search Type:
Title Author Subject ISBN ISSN LCCN Anywhere
AND OR NOT NEAR Title Author Subject ISBN ISSN LCCN Anywhere
AND OR NOT Title Author Subject ISBN ISSN LCCN Anywhere

Database: Books & Serials Journal Indexing

Set Search Filters
Select below to return to the last: MARC Record
รายนามพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
1 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) 1893 - 1912 (19 ปี) อู่ทอง
2 สมเด็จพระราเมศวร (โอรสพระเจ้าอู่ทอง) ครองราชย์ครั้งที่ 1 1912 - 1913 (1 ปี) อู่ทอง
3 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) 1913 - 1931 (18 ปี) สุพรรณภูมิ
4 สมเด็จพระเจ้าทองลัน (โอรสขุนหลวงพะงั่ว) 1931 (7 วัน) สุพรรณภูมิ
สมเด็จพระราเมศวร ครองราชย์ครั้งที่ 2 1931 - 1938 (7 ปี) อู่ทอง
5 สมเด็จพระราชาธิราช (โอรสพระราเมศวร) 1938 - 1952 (14 ปี) อู่ทอง
6 สมเด็จพระอินราชาธิราช (เจ้านครอินทร์) โอรสพระอนุชาของขุนหลวงพระงั่ว 1952 - 1967 (16 ปี สุพรรณภูมิ
7 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) โอรสเจ้านครอินทร์ 1967 - 1991 (16 ปี) สุพรรณภูมิ
8 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (โอรสเจ้าสามพระยา) 1991 - 2031 (40 ปี) สุพรรณภูมิ
9 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ) 2031 - 2034 (3 ปี) สุพรรณถูมิ
10 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ) 2034 - 2072 (38 ปี) สุพรรณภูมิ
11 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (พระอนุชาต่างมารดาพระรามาธิบดีที่ 2) 2072 - 2076 (4 ปี) สุพรรณภูมิ
12 สมเด็จพระรัษฎาธิราชกุมาร (โอรสพระบรมราชาธิราชที่ 4) 2076 - 2077 (1 ปี) สุพรรณภูมิ
13 สมเด็จพระไชยราชาธิราช (โอรสพระรามาธิบดีที่ 2) 2077 - 2089 (12 ปี) สุพรรณภูมิ
14 สมเด็จพระยอดฟ้า (พระแก้วฟ้า) (โอรสพระไชยราชาธิราช) 2089 - 2091 (2 ปี) สุพรรณภูมิ
15 ขุนวรวงศาธิราช (สำนักประวัติศาสตร์บางแห่งไม่ยอมรับว่าเป็นกษัตริย์) 2091 (42 วัน) อู่ทอง
16 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเฑียรราชา) 2091 - 2111 (20 ปี) สุพรรณภูมิ
17 สมเด็จพระมหินทราธิราช (โอรสพระมหาจักรพรรดิ) 2111 - 2112 (1 ปี) สุพรรณภูมิ
18 สมเด็จพระมหาธรรมราชา (ราชบุตรเขยในพระมหาจักรพรรดิ์) 2112 - 2133 (21 ปี) สุโขทัย
19 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (โอรสพระมหาธรรมราชา) 2133 - 2148 (15 ปี) สุโขทัย
20 สมเด็จพระเอกาทศรถ (โอรสพระมหาธรรมราชา) 2148 - 2153 (5 ปี) สุโขทัย
21 พระศรีเสาวภาคย์ (โอรสพระเอกาทศรถ) 2153 - 2154 (1 ปี) สุโขทัย
22 สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (โอรสพระเอกาทศรถ) 2154 - 2171 (17 ปี) สุโขทัย
23 สมเด็จพระเชษฐาธิราช (โอรสพระเจ้าทรงธรรม) 2172 (8 เดือน) สุโขทัย
24 สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ (โอรสพระเจ้าทรงธรรม) 2172 (28 วัน) สุโขทัย
25 สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ออกญากลาโหมสุริยวงค์) 2172 - 2199 (27 ปี) ปราสาททอง
26 สมเด็จเจ้าฟ้าไชย (โอรสพระเจ้าปราสาททอง) 2199 (3 - 4 วัน) ปราสาททอง
27 พระศรีสุธรรมราชา (อนุชาพระเจ้าปราสาททอง) 2199 (3 เดือน) ปราสาททอง
28 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช (โอรสพระเจ้าปราสาททอง) 2199 - 2231 (32 ปี) ปราสาททอง
29 สมเด็จพระเพทราชา 2231 - 2246 (15 ปี) บ้านพลูหลวง
30 สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) 2246 - 2251 (6 ปี) บ้านพลูหลวง
31 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (โอรสพระเจ้าเสือ) 2251 - 2275 (24 ปี) บ้านพลูหลวง
32 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (โอรสพระเจ้าเสือ) 2275 - 2301 (26 ปี) บ้านพลูหลวง
33 สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (โอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) 2301 (2 เดือน) บ้านพลูหลวง
34 สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) (โอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)

หมายเหตุ บางตำราก็ว่าพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยามี ๓๔ ลำดับ แต่ความจริงแล้วมี๓๕ ลำดับ เหตุผลนั่นก็เพราะว่า สมเด็จพระราเมศวรพระโอรสของสมเด็จพระเจ้าอู่ทองนั้น เป็นพระมหากษัตริย์ถึง ๒ ครั้ง หรือ ๒ รัชกาล คือ รัชกาลที่๒ และรัชกาลที่๕ แห่งอาณาจักรกรุงศรี และยังมีกล่าวเล่าขานกันมาในเรื่องแห่งราชวงศ์ในกรุงศรีอยุธยาอีกว่า การที่พระมหากษัตริย์ได้มีการแบ่งราชวงศ์เป็นราชวงศ์ต่างๆนั้น นั่นหมายถึงการแบ่งการปกครองและขยายอาณาจักรในการดูแลอาณาจักรแห่งสยาม เพื่อให้การเก็บส่วยภาษีอากรนั้นได้ทั่วถึง จากที่หัวเมืองต่างๆได้มีการปกครองและเก็บส่วยทั้ง แบ่งภาค การดำเนินการปกครองทั้งในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาแห่งสยามประเทศ และการดูแลสร้างรากฐานให้มีความมั่นคงในหัวเมืองต่างๆ ที่อยู่ในการดูแลของพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา และในราชวงศ์ต่างๆของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยายังได้สร้างทายาทของในราชวงศ์ต่างๆไว้มากมาย ไว้ที่ในอาณาจักรที่แบ่งการดูแลเช่นหัวเมืองลพบุรี เชียงใหม่ ชัยภูมิ (หัวเมืองทางอีสานทั้งหมด) และหัวเมือง นครศรีธรรมราช สงขลา มะริด ภูเก็ต ปัตตานี (หัวเมืองทางใต้ทั้งหมด) นั้นเป็นการดูแลของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ปราสาททอง เริ่มจากสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ถึง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ส่วนราชวงศ์บ้านพลูหลวงจะแบ่งการดูแลถึงเขตพระนครฝั่งใต้ (ก่อนมีเมืองกรุงเทพฯ) และทางด้านเมืองสุพรรณบุรี อ่างทอง ชัยนาท สิงห์บุรี เป็นต้นฯ ส่วนราชวงศ์อู่ทอง ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทัย จะเป็นราชวงศ์แรกๆที่ดูแลเกี่ยวกับอาณาจักรในช่วงตอนกลางของสุโขทัยถึงตอนปลาย และอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ลพบุรี เป็นต้นฯ (แต่อันที่จริงที่มีการเล่าสืบทอดทายาทต่อกันมาในราชสกุลวงศ์ ”สุดลาภา” นี้ว่าพระมหากษัตริย์ทั้งหมดตั้งแต่ในอดีตของกรุงสุโขทัย และกรุงศรีอยุธยา ลพบุรี และฝั่งหัวเมืองพระนครใต้(กรุงธนบุรี)จนถึงรัชกาลที่๑ แห่งราชวงศ์จักรี ล้วนแล้วแต่เป็นทายาทสืบเนื่องต่อกันมาทั้งสิ้น) และพอถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้ถูกก่อตั้งเป็นราชธานี นั่นก็เพราะว่าลูกหลานของพระมหากษัตริย์แห่งกรุศรีอยุธยาได้ทรงทำการปราบดาแต่งตั้งตามเจตนารมณ์ของทายาทพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา นั่นก็คือ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงเป็นรัชกาลที่๑ แห่งราชวงศ์จักรี และสาเหตุหลักที่ต้องตั้งราชวงศ์ใหม่อย่างรวดเร็ว นั่นก็เพราะว่า ทางฝ่ายทายาททางกรุงเก่าที่ยังทรงมีชีวิตอยู่อีกมากในหลายพระองค์ทรงเห็นว่าอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาได้ทรุดโทรมเสียหายเป็นอย่างมาก และยากที่จะทำการบูรณปฏิสังขรณ์ให้ดีดังเดิมได้อย่างรวดเร็ว ท่านจึงปรึกษาและได้มีการตั้งราชวงศ์ใหม่ คือ ราชวงศ์จักรี และไม่ต้องทำการซ่อมแซมกรุงศรีอยุธยา นั่นก็เพราะว่าให้สร้างกรุงใหม่ดีกว่า เพราะกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้นกำลังมีการทำการค้าขายกับต่างประเทศอย่างเฟื่องฟู จนเป็นที่ยอมรับในหลายๆประเทศ ทางแถบเอเชีย และยุโรป และในเหตุผลที่ว่าถ้าทางฝ่ายที่ทำการค้า และร่วมสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาแห่งสยามประเทศได้แลเห็นว่าบ้านเมืองเกิดการเสียหาย จะทำให้ยากต่อการทำการค้า และการติดต่อสัมพันธไมตรีทางการทูตและทางการทหาร อาจจะทำให้เสียภาพพจน์และเสียดุลทางการปกครอง สาเหตุเหล่านี้เอง จึงทำให้เกิดที่มาแห่งราชวงศ์จักรีตามคำบอกเล่าสืบต่อกันมาทางสายรัชทายาทแห่งราชสกุลวงศ์ สุดลาภา” ซึ่งเป็นราชสกุลเก่าแก่แห่งพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา และในรัชกาลที่๑ แห่งปฐมกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี และที่กล่าวมานั่นก็คือที่มาแห่งคำว่าการสืบเนื่องราชสกุลวงศ์ หรือราชสายสกุลวงศ์ตามความเป็นจริง และตามฐานันดรศักดิ์แห่งการเป็นทายาทที่มีเชื้อสายและที่มาอันยาวนานและมีเลือดเนื้อเชื้อไขแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรต่างๆในอดีต ถึงราชวงศ์จักรีในปัจจุบัน...นั่นเองครับ

คำตอบ...ความจริงถึงแม้จะสิ้นยุคอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาแห่งราชวงศ์อาณาจักรกรุงศรีอยุธยาทั้ง๕ราชวงศ์ แต่นั่นก็มิได้หมายถึงว่าจะสิ้นสูญทายาททางพระหมากษัตริย์ที่มีมากมายในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา และลพบุรี สระบุรี ราชบุรี แต่ยังมีพระปนัดดา ทายาท(หลานชาย) ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่มีราชบุตรชายเป็นนายทหาร และเป็นพระราชบิดาของรัชกาลที่๑ แห่งราชวงศ์จักรี และในสมัยหลังอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาฟื้นฟูยาก จึงได้มีการปราบดาตนเองขึ้น และแยกราชวงศ์ขึ้นมาใหม่ชื่อว่าราชวงศ์จักรี สาเหตุนั่นเพราะว่ากรุงศรีอยุธยาเกิดการเสียหายอย่างหนัก และยากต่อการฟื้นฟูให้ดีดังเดิมได้โดยเร็ว (เพราะในขณะนั้นสยามประเทศกำลังเฟื่องฟูทางด้านการค้า และการเจริญสัมพันธไมตรี ซึ่งขณะนั้นกำลังติดต่อกับทางเอเชีย และยุโรป) จึงเกิดการตั้งอาณาจักรและราชวงศ์ใหม่เพื่อทดแทนอาณาจักรเก่าที่ยากต่อการฟื้นฟูโดยเร็ว เพื่อทางด้านการค้า และการทำสัมพันธไมตรีจะได้ไม่ขาดระยะและขาดตอน ทางรัชทายาททางกรุงศรีอยุธยา จึงได้ส่งรัชกาลที่๑ ซึ่งเป็นทายาท และเป็นหลานชายของสมเด็จพระนารายณ์มาราชที่ชื่อทองด้วง (เป็นชื่อเล่นที่พระบิดาทรงเรียก) มาดำเนินการปกครองต่อจากอาณาจักรแห่งกรุงศรีอยุธยา และเปลี่ยนชื่อราชวงศ์ใหม่ว่า ราชวงศ์จักรี แต่อันที่จริงทั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และพระมหากษัตริย์ในทุกราชวงศ์ในสมัยอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา สายสกุลเดิมจริงแล้วเป็นสายราชสกุลวงศ์ที่เรียกว่า “สุดลาภา” และเป็นต้นแห่งสายสกุลวงศ์พระมหากษัตริย์ เกือบทั้งหมด และรวมทั้งรัชกาลที่๑แห่งราชวงศ์จักรี แต่ถ้าในสมัยนั้นมีชื่อสกุลต่อท้ายแล้ว ทองด้วง ซึ่งเป็นชื่อที่พระบิดาทรงเรียก จะต้องเขียนว่า (ทองด้วง ซึ่งใช้นามสกุลว่า”สุดลาภา” และไม่เกี่ยวข้องกับราชสกุลต่างๆที่มีการประทานสืบโปรดเกล้า หรือประทานเนื่องยศในจอมมารดา และเหล่าวังหน้า วังหลังในเจ้าจอมต่างๆ (เพราะเป็นต้นสายสกุลที่เรียกว่า “สุดลาภา” โดยตรง แต่นั่นเป็นเพียงการรักในบรรพบุรุษที่มีการสืบเนื่องต่อกันมา ราชสายสกุล สุดลาภานี้ ก็ยังคงใช้สกุลเดิม โดยมิมีการเปลี่ยนแปลงใดๆทั้งสิ้น ) ถึงแม้จะมีการแตกแขนงใช้ราชสายสกุลชื่อต่างๆมากมาย..ตามที่บุคคลทั่วไปอาจเคยได้ทราบในประวัติที่มาต่างๆ..แต่นั่นเป็นเพียงการแตกแขนงเพื่อสืบชาติเชื้อพงศ์พันธุ์ตามสายพันธุ์แห่งการปกครองที่มีมาตั้งแต่ในอดีตและยังสืบทอดถึงในปัจจุบันนั่นเอง

ราชสกุลสุดลาภาเป็นราชสกุลทางตรงของรัชกาลที่๑

ประวัติในรัชกาลที่๑ หรือสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นั้น ท่านเป็นชาวอ.มหาราชจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) พระราชบิดาของท่านเป็นนายทหารซึ่งเป็นหลานชายของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชพระมหากษัตริย์ลำดับที่๒๗ แห่งกรุงศรีอยุธยา และประวัติของอ.มหาราชนี้ สาเหตุที่เรียกชื่ออำเภอนี้ว่าอำเภอ.มหาราช เพราะสาเหตุที่ว่า องค์รัชกาลที่๑ ท่านทรงเสด็จพระราชสมภพที่อำเภอนี้ จึงเป็นที่เรียกชื่อตั้งว่าเป็นอำเภอ.มหาราช แปลว่าถิ่นกำเนิดของพระมหากษัตริย์ แต่พระราชบิดาของท่านเป็นชาวอำเภออุทัย และอำเภอ นครหลวง สาเหตุอันที่จริงแล้วนั้นอำเภอมหาราช เป็นอำเภอที่รัชกาลที่๑ ทรงเสด็จพระราชสมภพที่พำนักทางฝ่ายพระมารดา(ซึ่งเป็นการนำรัชกาลที่๑นำไปเลี้ยงดูแต่เยาว์วัย) ที่อำเภอนี้. และยังมีประวัติของราชสกุลวงศ์สุดลาภา ซึ่งเป็นสายราชสกุลของพระมหากษัตริย์โดยทางตรงของทุกพระองค์ จวบจนถึงในสมัยแห่งราชวงศ์จักรีในรัชกาลที่๑ ก็ยังถือเป็นต้นสายราชสกุลเดิมอยู่ (แต่ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงในประวัติที่กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำพิมพ์เป็นรูปเล่มสมบูรณ์จริง) มีแต่การกล่าวเช่นว่า ชื่อ ทองด้วง แต่ไม่ปรากฏนามสกุล แต่อันที่จริงแล้ว ต้องเขียนว่า สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ชาวอำเภอมหาราช)ชื่อที่พระบิดาเรียกคือ ( ทองด้วง สุดลาภา) และส่วนสายสกุลอื่นๆ นั่นคือสายสกุลที่เราเคยคุ้นและเคยได้ยินกันในสายของรัชกาลที่๑ นั่นเป็นนามสกุลพระราชทานขึ้นมาใหม่กับเจ้าจอมมารดาทั่วไปทั้งนั้นทั้งสิ้น และราชสกุล สุดลาภา นี้ ยังมีทายาทที่ยังใช้ราชสกุลนี้อยู่ ในหลายๆอำเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สระบุรี ลพบุรี และสุพรรณบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ (มลฑลราชบุรีเดิมที่รัชกาลที่๑ทรงก่อตั้งขึ้น) และถ้าว่ากันแล้ว ราชสกุลสุดลาภานี้เป็นราชสกุลที่มาดั้งเดิมขนานแท้โดยตรงของพระมหากษัตริย์ที่เป็นรัชกาลแผ่นดินโดยทางตรง...และถึงในปัจจุบันนี้ราชสกุลวงศ์สุดลาภานี้ก็ยังธำรงรักษาสายราชสกุลเดิมไว้ตามประวัติและที่มาของสายราชสกุลวงศ์แห่งนี้ โดยที่มิได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อสายสกุลใดๆทั้งสิ้น.ตามประวัติและที่มาของสายบรรพบุรุษเดิมตั้งแต่อดีต ถึงในปัจจุบันนี้นั่นเอง


เมื่อครั้นเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ที่พระที่นั่งมังคลาภิเษกจึงทำให้ประวัติส่วนใหญ่เสียหาย

สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระมหากษัตริย์ผู้ครองกรุงศรีอยุธยาระหว่าง พ.ศ.2123 - 2198 ส่วนพระราชมารดานั้นเป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ทรงพระราชสมภพวันจันทร์ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ.2175 ทำพระราชพิธี เบญจเพศในเดือนยี่ พ.ศ. 2199 และเหตุที่มีพระนามว่า " นารายณ ์" นั้น มีอ้างไว้ในพระราชพงศาวดารว่า เมื่อพระราชเทวีประสูตินั้น พระญาติวงศ์เหลือบเห็นเป็นสี่กร สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระราชบิดาจึงพระราชทานนามว่า " พระนารายณ์ราชกุมาร " แต่ในหนังสือ " คำให้การชาวกรุงเก่า " และ " คำให้การของขุนหลวงหาวัด " ว่า เมื่อเพลิงไหม้พระที่นั่งมังคลาภิเษก
สมเด็จพระนารายณ์ยังเป็นพระราชกุมารอยู่ เสด็จขึ้นไปดับเพลิง บรรดาคนทั้งปวงเห็นเป็นสี่กร ครั้นขึ้นเสวยราชสมบัติ ข้าราชการ ทั้งปวงจึงถวายพระนามว่า พระนารายณ์ สมเด็จพระนารายณ์มีพระอนุชาร่วมพระชนกหลายองค์ แต่ต่างพระชนนีกัน คือ เจ้าฟ้าศรีสุวรรณ ซึ่งเรียกกันว่า พระราชกัลยา เมื่อทรงพระเยาว์สมเด็จพระนารายณ์ได้รับการศึกษาจากพระโหราธิบดี และทรงใฝ่พระทัยศึกษาจาก พระอาจารย์พรหม พระพิมลธรรม และจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
เมื่อขึ้นเสวยราชย์ พ.ศ.2199 พระนามว่า " สมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 3 " เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 27 แห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดี แรม 2 ค่ำ เดือน 12 จุลศักราช 1018 ปีวอก ตรงกับวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2199 พระชนมายุ 25 พรรษา ประทับเสวยราชย์ ณ กรุงศรีอยุธยา 10 ปี จึงโปรดให้สร้างเมืองลพบุรีขึ้นเป็นราชธานีแห่งที่สอง ในปี พ.ศ. 2209 พระองค์เสด็จประทับที่ลพบุรีปีหนึ่ง ๆ เป็นเวลาถึง 8-9 เดือน พระองค์สวรรคตเมื่อวันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 รวมดำรงราชสมบัตินาน 32 ปี สิริรวมพระชนมายุ 56 พรรษา มี พระราชธิดาพระองค์เดียวคือ กรมหลวงโยธาเทพแต่มี พระโอรสต่างมารดาหลายพระองค์ และมีการกล่าวจากการคำให้การของชาวกรุงเก่า เล่าว่าหนังสือพระราชประวัติเก่ๆหลายเล่มที่มีเขียนไว้ในเรื่องราวเกี่ยวกับราชสกุลวงศ์ แห่ง สุดลาภา ได้เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ที่พระที่นั่งมังคลาภิเษก ทำให้หนังสือ และตำราที่เกี่ยวข้องกับที่มาต่างๆของราชสกุลวงศ์ สุดลาภา ในความเป็นพระมหากษัตริย์ต่างๆในหลายๆพระองค์ในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาเกิดการสูญหายในขณะเกิดเพลิงไหม้ในพระที่นั่ง ตำราเก่าๆจึงหาหลักฐานที่มีอยู่ได้แต่ก็มีหลักฐานจากคำบอกเล่าในคนกรุงเก่า และเหล่าบรรดาข้าหลวงต่างๆในสมัยนั้น และจนกระทั่งในสมัยปัจจุบันนี้ที่มีการ เปลี่ยนแปลงราชวงศ์เป็นราชวงศ์แห่งจักรี องค์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หรือองค์รัชกาลที่๑ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นทายาทที่สืบสายราชสกุลวงศ์ สุดลาภา มาจากพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ในความเป็นอาณาจักรแห่งกรุงศรีอยุธยา และความเป็นราชวงศ์แห่งอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาที่มาจากนายทหารที่เป็นพระปนัดดาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่ทว่าในหนังสือบางตำรา ที่กระทรวงศึกษาธิการได้ออกพิมพ์ในเรื่องราวของประวัติและที่มาขององค์สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่มีชื่อว่าทองด้วง แต่ไม่มีปรากฏสายสกุลราชสกุลวงศ์ และในความเป็นจริงถ้าไม่มีเหตุการณ์ไฟไหม้ครั้งใหญ่ที่พระที่นั่งมังคลาภิเษก จะมีหนังสือและตำราบอกถึงเรื่องราวต่างๆได้อย่างชัดเจน ว่าถ้าในปัจจุบันนี้องค์รัชกาลที่ ๑ แห่งราชวงศ์จักรี ชื่อเดิมที่พระบิดาทรงเรียกเป็นชื่อเล่นว่า ทองด้วง จะต้องมีชื่อสกุลต่อท้าย หรือ ทองด้วง สุดลาภา พระมหากษัตริย์ลำดับที่๑ แห่งราชวงศ์จักรี และเป็นราชสกุลที่มีประวัติต่างๆเล่าสืบทอดกันมา และมีการจดบันทึกไว้จาก “คนกรุงเก่า และขุนหลวงหาวัด “ แต่เอกสารส่วนใหญ่ได้ถูกทำลายและสูญหายเมื่อครั้นเกิดเพลิงไหม้ครั้นใหญ่นั่นเอง

ด้านเกรียติคุณ
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 27 ของกรุงศรีอยุธยา ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2199 - พ.ศ. 2231 พระองค์เป็น พระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถยิ่งจนได้รับการเทิดพระเกียรติเป็น " มหาราช " และทรงนำความเจริญรุ่งเรืองมาสู่กรุงศรีอยุธยา เป็นอย่างมากทรงมีพระบรมเดชานุภาพที่ยิ่งใหญ่ ทำสงครามกับอาณาจักรต่างๆ ใกล้เคียงได้รับชัยชนะหลายครั้งมีการเจริญสัมพันธไมตรี กับประเทศต่างๆ อย่างกว้างขวาง เช่น จีน ญี่ปุ่น ฮอลันดา อังกฤษ อิหร่าน ที่สำคัญที่สุดคือได้ส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับราชสำนัก พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสถึง 4 ครั้ง จนได้รับการเทิดทูนว่าทรงเป็นนักการค้าและนักการทูตที่ ยิ่งใหญ่ นอกจากนั้นยังทรงพระปรีชา ในด้านวรรณกรรมเป็นอย่างยิ่ง โดยทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีไว้หลายเรื่อง เช่น โคลงทศรถสอนพระราม พาลีสอนน้อง ราชสวัสดิ์ สมุทรโฆษคำฉันท์(ตอนกลาง) คำฉันท์กล่อมช้าง(ของเก่า) และพระราชนิพนธ์โคลงโต้ตอบกับศรีปราชญ์ และกวี มีชื่ออื่นๆ ทั้งยังทรงสนับสนุน งานกวีนิพนธ์ให้เฟื่องฟู เช่น สมุทรโฆษคำฉันท์ของพระมหาราชครู โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ของหลวงศรีมโหสถ จินดามณีของพระโหราธิบดีซึ่งนับเป็นตำราเรียนหนังสือไทยเล่มแรก และ อนิรุทธคำฉันท์ ของศรีปราชญ์ กวีเอกแห่งราชสำนัก เป็นต้น จนยุคนี้ได้ชื่อว่ายุคทองของวรรณคดีไทย
การที่พระองค์โปรดให้สร้างเมืองลพบุรีเป็นราชธานีที่สอง และโปรดประทับที่เมืองลพบุรีปีละ 8 - 9 เดือนนั้นเป็นการนำความเจริญ รุ่งเรืองมาสู่เมืองลพบุรี เพราะมีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าสู่เมืองลพบุรี อาทิ ระบบประปา หอดูดาว สร้างกำแพงเมือง ประตูเมือง และป้อมปืนเมืองลพบุรีจึงคึกคักมีชีวิตชีวาคลอดรัชกาลของพระองค์ มีการคล้องช้าง มีชาวต่างชาติ คณะทูตเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรี มีบาทหลวงเข้ามาส่องกล้องดูดาว ดูสุริยุปราคา จันทรุปราคา เมื่อพระองค์สวรรคต เมืองลพบุรีก็ถูกทิ้งร้างอยู่ระยะหนึ่ง แต่ยังมีอนุสรณ์สถาน ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ณ เมืองลพบุรี เป็นมรดกตกทอดให้ชาวเมืองลพบุรีได้ภาคภูมิใจ ซึ่งเป็นพระราชานุสาวรีย์ที่เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2502 สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ. 2509 สมัยพลเอกถนอม กิตติขจร(ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2509 ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระองค์ พระบรมราชา- นุสาวรีย์นี้เป็นพระรูปปั้นประทับยืนบนแท่นฐานสี่เหลี่ยม หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ทรงเครื่องฉลองพระองค์ เต็มยศ สวมพระพิชัยมงกุฎ พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงดาบ ที่แท่นฐานมีแผ่นป้ายประดิษฐานคำจารึกว่า
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
พระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่ง
ทรงพระราชสมภพ ณ กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2175
สวรรคต ณ เมืองลพบุรี เมื่อ พ.ศ. 2231
พระองค์ทรงมีพระบรมราชกฤษดาภินิหารเป็นอย่างยิ่งในรัชสมัยของพระองค์
วรรณคดีและศิลปของไทยได้เจริญถึงขีดสูงสุด
มีสัมพันธไมตรีแผ่ไพศาลเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
ประชาชนชาวไทย

ได้ร่วมกันสร้างและประดิษฐานอนุสาวรีย์นี้ไว้ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:59, 8 กรกฎาคม 2551

บทความ ของวิกิพีเดีย หมายถึง หน้าหนึ่งหน้า ที่มีข้อมูล รายชื่อ ตาราง หรือแผนภูมิ ทั้งนี้ ที่มีเนื้อหาเป็นสารานุกรม

หน้าบทความ จะมี คำว่า "บทความ" อยู่ซ้ายบน ซึ่งจะไม่รวมใน หน้าพิเศษ หรือ หน้าเปลี่ยนทาง

ชนิดของบทความ

หน้าบทความ จะไม่นับรวมหน้าที่มีชื่อพิเศษนำหน้า ดังนี้

  • ชื่อพิเศษ วิกิพีเดีย (และ Wikipedia) เป็นหน้าที่เกี่ยวข้องกับโครงการของวิกิพีเดีย (ยกตัวอย่าง วิกิพีเดีย:ศาลาประชาคม และหน้าอภิปราย คือ วิกิพีเดีย:สภากาแฟ); (เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของซอฟต์แวร์ namespace "วิกิพีเดีย" นั้น ถูกนับเป็นบทความ ไม่ถือเป็นหน้าพิเศษ)
  • ชื่อพิเศษ พูดคุย เป็นหน้าสำหรับการอภิปรายเกี่ยวกับหน้านั้น ๆ (ยกตัวอย่าง พูดคุย:หน้าหลัก)
  • ชื่อพิเศษ พิเศษ เป็นหน้าที่สร้างขึ้นโดยซอฟต์แวร์ ไม่สามารถแก้ไขตามต้องการได้ (เช่น พิเศษ:Allpages)
  • ชื่อพิเศษ ผู้ใช้ (และ User) เป็นหน้าของผู้เขียนวิกิพีเดีย (ยกตัวอย่าง ผู้ใช้:นายวิกิพีเดีย)
  • ชื่อพิเศษ ภาพ (และ Image) เป็นหน้าของรูปภาพที่ถูกอัพโหลดขึ้นมา (ยกตัวอย่าง ภาพ:Wiki-th.png)

จำนวนบทความ

จำนวนบทความนับจาก จำนวนบทความทั้งหมด หักลบด้วยจำนวนหน้าพิเศษ (หน้าผู้ใช้ หน้าพูดคุย หน้าวิกิพีเดีย ฯลฯ) และหักลบด้วยบทความที่ไม่มีจุดเชื่อมโยงไปหาบทความอื่น ซึ่งจะได้เท่ากับจำนวนบทความทั้งหมด 163,839 บทความในวิกิพีเดียภาษาไทย

ดูเพิ่ม