ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซอฟต์แวร์เฟรมเวิร์ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{โครงซอฟต์แวร์}}
'''โครงร่างซอฟต์แวร์''' (ซอฟต์แวร์เฟรมเวิร์ก: Software framework) คือแบบที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้สำหรับระบบ[[ซอฟต์แวร์]] (หรือระบบย่อย) ซึ่งสามารถอยู่ในรูปของ[[คลาสนามธรรม]] (Abstract class)และกับวิธีในการใช้ตัวตน ([[instance]]) ของ[[คลาส]]ร่วมกันจำเพาะสำหรับซอฟต์แวร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โครงร่างซอฟต์แวร์ทุกโครงร่างใช้[[การออกแบบเชิงวัตถุ]] โปรแกรมของโครงร่างซอฟต์แวร์มักจะเป็น[[โปรแกรมเชิงวัตถุ]] อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นตามการออกแบบไม่จำเป็นต้องเป็น[[โปรแกรมเชิงวัตถุ]]
'''โครงร่างซอฟต์แวร์''' (ซอฟต์แวร์เฟรมเวิร์ก: Software framework) คือแบบที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้สำหรับระบบ[[ซอฟต์แวร์]] (หรือระบบย่อย) ซึ่งสามารถอยู่ในรูปของ[[คลาสนามธรรม]] (Abstract class)และกับวิธีในการใช้ตัวตน ([[instance]]) ของ[[คลาส]]ร่วมกันจำเพาะสำหรับซอฟต์แวร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โครงร่างซอฟต์แวร์ทุกโครงร่างใช้[[การออกแบบเชิงวัตถุ]] โปรแกรมของโครงร่างซอฟต์แวร์มักจะเป็น[[โปรแกรมเชิงวัตถุ]] อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นตามการออกแบบไม่จำเป็นต้องเป็น[[โปรแกรมเชิงวัตถุ]]


บรรทัด 10: บรรทัด 10:
[[หมวดหมู่:การเขียนโปรแกรม]]
[[หมวดหมู่:การเขียนโปรแกรม]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรมซอฟต์แวร์]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรมซอฟต์แวร์]]
{{โครงซอฟต์แวร์}}


[[bn:ফ্রেমওয়ার্ক]]
[[bn:ফ্রেমওয়ার্ক]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:05, 16 มิถุนายน 2551

โครงร่างซอฟต์แวร์ (ซอฟต์แวร์เฟรมเวิร์ก: Software framework) คือแบบที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้สำหรับระบบซอฟต์แวร์ (หรือระบบย่อย) ซึ่งสามารถอยู่ในรูปของคลาสนามธรรม (Abstract class)และกับวิธีในการใช้ตัวตน (instance) ของคลาสร่วมกันจำเพาะสำหรับซอฟต์แวร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โครงร่างซอฟต์แวร์ทุกโครงร่างใช้การออกแบบเชิงวัตถุ โปรแกรมของโครงร่างซอฟต์แวร์มักจะเป็นโปรแกรมเชิงวัตถุ อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นตามการออกแบบไม่จำเป็นต้องเป็นโปรแกรมเชิงวัตถุ

ยกตัวอย่างเช่น โครงร่างซอฟต์แวร์สามารถช่วยให้สร้างโปรแกรมบรรณาธิกรณ์กราฟิก ที่แตกต่างกันได้หลายประเภท เช่น การวาดภาพศิลป์ การประพันธ์ดนตรี และการออกแบบเครื่องกลโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (CAD)

อ้างอิง